แม่และเด็ก

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 75 กรกฎาคม 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ263. เด็กนอนดึกความคิดที่ว่า เมื่อถึงสองทุ่มเด็กต้องนอนนั้น สมัยนี้เป็นไปได้ยาก ครอบครัวทั่วไปในปัจจุบันจะพักผ่อนสังสรรค์กันตอนกลางคืน เพราะฉะนั้นเด็กซึ่งเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวย่อมอยากร่วมวงด้วยเป็นธรรมดาถ้าเด็กไม่ได้นอนตอนบ่าย แกคงนอนตั้งแต่สองทุ่ม แต่วันไหนนอนตอนบ่าย หนูอาจจะอยู่ถึงสามทุ่มครึ่ง ได้เล่นกับคุณพ่ออย่างสนุกสนานกันทั้งคู่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 มิถุนายน 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ259. ไม่ยอมกินข้าวมีคุณแม่จำนวนไม่น้อยที่ชอบบ่นว่า ลูกไม่ยอมกินข้าว เมื่อถามว่าอยากให้ลูกกินข้าวมากสักแค่ไหน คำตอบก็คือ ตามตำราบอกว่า เด็กวัยนี้ต้องกินข้าวถ้วยครึ่ง หรือว่าเด็กข้างบ้านเขากินตั้งสองชาม แต่ลูกของตนควรกินข้าวเท่าไรจึงจะพอดีนั้นคุณแม่มักไม่รู้ เด็กบางคนกินข้าวเพียงมื้อละครึ่งถ้วย แต่น้ำหนักเพิ่มเฉลี่ยวันละ 5 กรัม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    การช่วยเหลือเด็กชักการชักในเด็ก โดยเฉพาะเด็กอายุตํ่ากว่า 3 ปี มักมีสาเหตุมาจาก “ไข้สูง” ดังนั้นการเช็คตัวเพื่อลดไข้ควรจะได้กระทำทุกครั้ง เพื่อป้องกัน “การชัก” ชั่วระยะเวลาที่เด็กมีอาการชัก สมองจะขาดออกซิเจน ดังนั้น เด็กที่มีอาการชักบ่อย หรือการชักแต่ละครั้งใช้เวลานาน อาจทำให้เด็กพิการสติปัญญาเสื่อม การเจริญเติบโตช้า หรือได้รับบาดเจ็บถ้ามีการตกจากที่สูง เวลาชัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพแวดล้อม255. สร้างสถานที่ให้เด็กเล่นกันเถอะชีวิตประจำวันของเด็กในวัยนี้ ส่วนใหญ่ใช้เวลาไปในการเล่นมากที่สุด เด็กจะค้นพบความสามารถพิเศษของตนเองในระหว่างการเล่น พ่อแม่ต้องให้ความสำคัญกับการเล่นของเด็ก ตอนแรกคอยสังเกตดูว่าเด็กชอบของแบบไหน และคอยสนับสนุนการเล่นที่เด็กชอบเด็กวัยนี้แทบทุกคน ชอบการละเล่นที่ใช้ร่างกายทั้งตัว เราควรส่งเสริมทักษะการออกกำลังกายของเด็ก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    253. ดุเด็กดีหรือไม่ก่อนอื่นเห็นจะต้องขยายความคำว่า ‘ดุ’ เสียก่อน ตามปกติ ‘การดุ’ คือการตะเบ็งเสียงห้ามไม่ให้อีกฝ่ายทำอะไรที่ตนไม่ต้องการให้ทำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    251.ฝึกขับถ่ายวัยก่อนหนึ่งขวบ เราประมาณเวลาจับเด็กนั่งกระโถนเพื่อเป็นการประหยัดผ้าอ้อมเท่านั้น แต่ระยะหนึ่งถึงขวบครึ่งนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ก่อนอื่นผมต้องขออภัยต่อท่านผู้อ่านเป็นอย่างยิ่ง ที่คอลัมน์ “พันธุ์ดี” หายหน้าหายตาไปเสียนาน เพราะภารกิจหน้าที่ประจำฉบับนี้ก็กลับมาทำหน้าที่อย่างเก่า ในสองตอนก่อน (ฉบับที่ 59, 60) ได้เล่าแล้วว่าหูตึงหูหนวกกรรมพันธุ์ในบางกรณีพบร่วมกับความผิดปกติอย่างอื่น เป็น “กลุ่มอาการ” เหล่านั้นดูบ้าง เพราะว่าลักษณะผิดปกติของร่างกายบางอย่างมันจะช่วยบอกเราว่าเด็กหรือคน ๆ นั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    หากคุณเข็ดขยาดกับช่วงเวลาในรอบเดือน ซึ่งก่อความไม่สะดวกสบายให้คุณ ลองบริหาร ร่างกายในท่าง่าย ๆ ต่อไปนี้ เพื่อช่วยขจัดอาการปวดให้หมดไป“ดีสมีนอเรีย ” (Dysmenorrhea) คือชื่อทางการแพทย์ของอาการปวดในรอบเดือน แต่แพทย์ยังหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดนี้ไม่ได้ และไม่สามารถตอบได้ว่าเหตุใดผู้หญิงบางคนจึงปวดมากกว่าคนอื่น ที่แน่ๆ ก็คือทุก ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    การเลี้ยงดู248.อาหารของเด็กวัยนี้ระยะอายุ 1 ขวบถึง 2 ขวบ น้ำหนักของเด็กจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2 กิโลเท่านั้น แต่ไม่ได้หมายความว่าช่วงหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งน้ำหนักเด็กจะเพิ่ม 1 กิโลกรัม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    247.ลักษณะของเด็กสิบเอ็ดเดือนถึงหนึ่งขวบเด็กอายุเกินหนึ่งขวบมีความไวต่อเหตุการณ์รอบตัวมากขึ้นและจำเสียงของคุณพ่อคุณแม่ได้ เมื่อคุณพ่อกลับจากทำงานตอนเย็น ...