แม่และเด็ก

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    ภาวะพร่องเอนไซม์ย่อยนมมีคนจำนวนไม่น้อยที่ดื่มนมไม่ได้ เพราะดื่มทีไรจะมีอาการท้องไส้ปั่นป่วน หรือท้องเสียขึ้นมาทันที ทำให้เข้าใจว่า "แพ้นม" บางคนถึงกับไม่กล้าดื่มนมไปเลย ความจริงอาการนี้มักเป็นเพราะร่างกายขาดเอนไซม์หรือน้ำย่อยในการย่อยน้ำตาลแล็กโทสในนม ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง หากรู้จักหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง อาการต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    สำลักสิ่งแปลกปลอมกรณีเม็ดลำไยติดคอเด็กจากอดีตถึงปัจจุบัน ข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์หลายๆ ฉบับเกี่ยวกับการสำลักสิ่งแปลกปลอมของเด็กเล็กหลายเหตุการณ์ เช่น"กินไปคุยไป อาจสำลักถึงตาย""หนูน้อยวัย ๑ ขวบ กลืนกระดุมติดหลอดลม เสียชีวิต""บะหมี่มรณะ ติดคอตาย อุดหลอดลม-ชัก""เมล็ดถั่วติดคอเด็ก ๓ ขวบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    ไอเพอร์แอ๊กทีฟไฮเพอร์ มาจากศัพท์ ไฮเพอร์แอ๊กทีฟ (hyperactive) หมายถึง ลักษณะของเด็กที่อยู่ไม่นิ่ง วิ่งซนทั้งวัน และมีอาการสมาธิสั้นร่วมด้วย เป็นปัญหาเกี่ยวกับสภาวะทางพฤติกรรม สาเหตุหลักๆ ของไฮเพอร์แอ๊กทีฟมี ๓ ประการ คือ๑. ถ่ายทอดทางพันธุกรรมเด็กไฮเพอร์ประมาณร้อยละ ๓๐-๔๐ มีญาติ พี่น้องที่มีปัญหานี้แต่ก็ไม่อาจสรุปได้แน่ชัดว่าเด็กในครอบครัวที่มีปัญหาไฮเพอร์จะต้องมีอาการไฮเพอร์ทุกคน๒. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    ยาเม็ดคุมกำเนิดทำให้อ้วนจริงหรือ?ยาเม็ดคุมกำเนิด ถือเป็นนวัตกรรมทางการแพทย์ที่มีความสำคัญต่อชาวโลก โดยเฉพาะเพศหญิงอย่างมาก ถ้าไม่มียาคุมกำเนิด พลโลกอาจเพิ่มขึ้นจนล้นโลก เกิดการแย่งชิงทรัพยากรต่างๆ ยาเม็ดคุมกำเนิดจึงมีความสำคัญต่อมวลมนุษย์อย่างมาก และเป็นยาที่มีปริมาณการใช้มากที่สุดในโลก เพราะผู้หญิงที่แต่งงานแล้วนิยมใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดเป็นวิธีการวางแผนครอบครัวมากที่สุด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    ยาคุมกำเนิดชนิดเม็ดถาม : วงศ์ชนก/ชลบุรีปกติดิฉันกินยาคุมกำเนิดชนิดเม็ดต้องการจะเปลี่ยนมาใช้ยาคุมชนิดฉีดจะมีผลเสียต่อร่างกายอย่างไรตอบ : นพ.ธเนศ พัวพรพงษ์การใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฉีด อาการที่มักพบได้บ่อย คือ ประจำเดือนผิดปกติ อาจไม่มาเลยตลอดระยะเวลาที่ฉีดหรืออาจมาแบบไม่สม่ำเสมอ คาดการณ์ไม่ได้ อาการอื่นๆ ที่อาจมีก็คล้ายๆ ยาคุมแบบกินทั่วไปคือ อาจมีตึงคัดเต้านม คลื่นไส้ อาเจียน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    โรคมือ-เท้า-ปากโรคมือ-เท้า-ปาก เป็นไข้ออกผื่นชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในเด็กเล็กซึ่งติดต่อกันง่าย แต่มักไม่รุนแรงและหายได้เองเป็นส่วนใหญ่ ส่วนน้อยที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงนับแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา มีข่าวการระบาดของโรคนี้ซึ่งมีความรุนแรงถึงเสียชีวิตในหมู่เด็กเล็กของประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง ออสเตรเลีย จึงกลายเป็นโรคฮิตติดอันดับโรคหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ป้องกันมาลาเรียถาม : นารี/สมุทรปราการลูกชายจะไปเข้าค่ายที่จังหวัดจันทบุรี ๓ วัน ได้ข่าวว่าที่นั่นก็คือพื้นที่ชุกชุมของไข้มาลาเรีย ดิฉันต้องการทราบว่า จะป้องกันไม่ให้ลูกชายติดไข้มาลาเรียได้อย่างไร ตอบ : นพ.รักษ์พงศ์ เวียงเจริญก่อนอื่นขอบอก ณ ตรงนี้เลยว่า พื้นที่ชุกชุมไข้มาลาเรียมีหลายจังหวัด เช่น ตาก สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี ยะลา จันทบุรี แม่ฮ่องสอน นครศรีธรรมราช กระบี่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ลูกร้องจะซื้อของเล่นถาม : นารีรัตน์/ชลบุรีลูกของดิฉันอายุ ๓ ขวบ เวลาพาไปไหนๆ เห็นของเล่นจะร้องอยากได้ ทั้งๆ ที่ของเล่นที่บ้านก็มีอยู่แล้วจะแก้ไขอย่างไร?ตอบ : นพ.จักรพันธ์ สุศิวะสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ถือว่าเป็นเรื่องปกติของเด็กในวัยนี้ สาเหตุมาจากพัฒนาการของเด็กวัย ๓ ขวบที่ชอบวิ่งเล่น ดื้อ ซน ก้าวร้าวเวลาเด็กดื้ออย่างที่บอกแล้วแกพบความสำเร็จ คือ ได้สิ่งที่ต้องการด้วยก็จะทำบ่อยๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    เด็กในอุดมคติเด็กควรจะพัฒนาการตามวัย เพราะแต่ละวัยที่ผ่านมาจะย้อนกลับไปไม่ได้ ความสุขความมั่นคงในใจ ความต่อเนื่องในการพัฒนาจะเป็นรากฐานที่ดีทำให้เด็กมีความสุขคุณดวงเปิดประตูห้องตรวจเข้ามาพร้อมกับลูก ๒ คน สาวน้อยตัวเล็กๆ คือ น้องดี และหนุ่มน้อยตัวเล็กๆ อีกคนคือ น้องดวน น้องดีอายุ ๘ ขวบ ท่าทางเรียบร้อย ระมัดระวังตัวแต่งตัวเรียบกริบตั้งแต่หัวจดเท้า เริ่มต้นจากผมเปียที่ถัก ๓-๔ เส้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    “ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น” เป็นคำไทยแต่โบราณที่ช่วยบอกถึงความสำคัญของลักษณะที่เหมือนกันในลูกหลานกับพ่อแม่ปู่ย่าตายาย วงศาคณาญาติเดียวกันในทางพระพุทธศาสนาก็ได้มีการบัญญัติความจริงตามธรรมชาติ ๕ ประการ (นิยาม ๕) ซึ่งหนึ่งในห้าของกฎธรรมชาตินี้คือ พีชนิยาม กฎแห่งพืชพันธุ์ ก็บ่งบอกถึงความสำคัญของการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในครอบครัว เข้าทำนองที่ว่า “หว่านพืช ...