แพทย์แผนจีน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ฉีดยาเข้าจุดฝังเข็มรักษาโรคพูดถึงการฉีดยา เรามักคุ้นเคยกับการฉีดยาที่ต้นแขน สะโพก การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำที่หลังมือ หรือแขน ยาที่ฉีดก็คิดถึงยาแผนปัจจุบัน ถ้ามีหมอเกิดเอายาฉีดที่เป็นสมุนไพร หรือยาแผนปัจจุบัน หรือบางครั้งเอาเลือดที่ดูดจากคนไข้คนเดียวกันฉีดเข้าไปในตัวคนไข้เอง ฉีดเข้าไปตำแหน่งอื่น เช่น ที่หน้าแข้ง หรือจุดต่างๆ ตัว แขน ขา ลำตัว ต้นคอ คงทำให้หลายคนแปลกใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    หยางเหว่ย : โรคมะเขือเผาในทรรศนะแพทย์แผนจีนมีทรรศนะการมองปัญหาโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย ที่เหมือนกันและแตกต่างกันหลายประการ ระหว่างแพทย์แผนจีนและแพทย์แผนตะวันตก แพทย์แผนปัจจุบันเรียก อี.ดี. (erectile dysfunction) หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวได้นานพอที่จะปฏิบัติกิจกรรมทางเพศได้สำเร็จ แพทย์แผนจีนเรียก หยางเหว่ย หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถตั้งตรง หรือตั้งตรงแต่ไม่แข็งตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    ยาอายุวัฒนะที่ต้องปรุงเอง : การทำงานกับการพักผ่อนยาอายุวัฒนะเพื่อการมีสุขภาพที่ดีและอายุยืนยาว เป็นสิ่งที่มนุษย์ในยุคต่างๆ แสวงหามาช้านานนับพันปี มีทั้งตำรับยา ความเชื่อในพิธีกรรม การกิน การดำเนินชีวิต การฝึกจิต เป็นต้น ซึ่งมีหลากหลายวิธีการ ในศาสตร์แพทย์จีนพูดถึงความสมดุลอย่างหนึ่งที่จะมีผลต่อการเกิดโรค การเสื่อมทรุดของร่างกายช้าหรือเร็ว คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 286 กุมภาพันธ์ 2546
    ฉบับนี้ผมขออนุญาตถอดความและเรียบเรียงปาฐกถา ของ ฯพณฯ เสอจิ้ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้แสดงในโอกาสเปิดการสัมมนาวิชาการศาสตร์ การแพทย์แผนจีนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๑๘-๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕ เพราะคิดว่าจะเป็นประโยชน์กับหลายๆ ท่านที่กำลังติดตามแนวโน้มของศาสตร์แพทย์แผนจีนในประเทศไทยและในระดับสากล ถ้าตกหล่นบกพร่องประการใด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ในความหมายของแพทย์จีนมีศัพท์และความเข้าใจที่ไม่ตรงกันหลายเรื่องเวลาหมอจีนอธิบายโรคให้กับคนไข้ฟัง รู้สึกทะแม่งๆ แปลกๆ ดี ยิ่งถ้าคนไข้หรือแพทย์ ปัจจุบันที่ไม่เข้าใจความหมายอาจตีความหมาย ผิดๆ ทำให้ยิ่งไปกันใหญ่ เล่นให้คนไข้ปั่นป่วน ไม่น้อย ตัวอย่างเช่น- เลือดของหัวใจไม่พอ ทำให้ใจสั่น นอนไม่หลับ ฝันมาก ลืมง่าย ความคิดเชื่องช้า ไม่มีชีวิตชีวา- ไฟหัวใจร้อนสู่เบื้องบน ทำให้ปลายลิ้นแดงอักเสบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 284 ธันวาคม 2545
    หญิงวัย ๒๐ ปี มีปัญหาเรื่องหงุดหงิดง่าย บางครั้งแน่นหน้าอกเหมือนจะขาดใจ ได้รับการรักษาด้วยยาจากจิตแพทย์มา ๗ ปี อาการเป็นๆหายๆ ดีบ้างหายบ้าง บางครั้งมีหูแว่ว มีภาพหลอน ในที่สุดแพทย์ได้ตัดสินใจให้ยาตัวใหม่ ผู้ป่วยได้ยาตัวนี้มานาน ๑ เดือนเศษ หลังจากกินยา มีอาการปัสสาวะรดที่นอน น้ำลายมาก เปียกที่นอนทุกคืน คุณแม่ของเด็กบังเอิญไปอ่านฉลากยาพบว่ามีข้อแนะนำให้เด็กตรวจเลือดเพื่อดูจำนวนเม็ดเลือดขาวทุก ๒ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 283 พฤศจิกายน 2545
    ขิงในทัศนะแพทย์แผนจีน เป็นทั้งยาสมุนไพรที่ใช้บ่อยและ เป็นทั้งอาหาร เครื่องปรุงรส ที่ต้องมีไว้ประจำครัวเรือนขงจื๊อ ปราชญ์จีนสมัยชุนชิว (ค.ศ.๔๗๙-ค.ศ.๕๐๐) ได้เสนอว่า "อาหารทุกมื้อไม่ควรละเลยขิง" ท่านเชื่อว่าบรรดาผักต่างๆ ขิงมีคุณค่ามากที่สุด สามารถทำให้มีชีวิตชีวา ขจัดของเสียในร่างกาย ขงจื๊อเป็นคน มณฑลซานตุง ปัจจุบันที่เมืองไหลอู๋ของซานตุง มีโรงงานผลิตเหล้าขิง ที่มีชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 282 ตุลาคม 2545
    ฝังเข็มลดความอ้วน (ตอนจบ)ผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์๑.การวิจัยของคณะแพทย์แผนจีนแห่งมหาวิทยาลัยนานกิงเกี่ยวกับ ผลของการฝังเข็มที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้อง กับการสลายไขมันและการเก็บไขมันของร่างกายพบว่าคนอ้วนโดยส่วนใหญ่จะมีระดับน้ำตาลในเลือดค่อนข้างสูงกว่าคน ปกติ ซึ่งเป็นการสะท้อนว่า ร่างกายจะกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนอินซูลิน (insulin) จากตับอ่อนสู่ระบบเลือดมากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 281 กันยายน 2545
    ฝังเข็มลดความอ้วน(ตอนที่ ๒)โรคอ้วนในทัศนะแพทย์แผนจีน- โรคอ้วน แพทย์จีนเรียกเฝ่ย-พ่าง - คัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง ส่วนของ"ซู่เวิ่น" เขียนไว้ว่า"คนอ้วนเป็นโรคที่เกิดจากการกินอาหารที่ชั้นเลิศและสมบูรณ์"- แพทย์ในราชวงศ์หมิงชิง เน้นว่า"คนอ้วนอายุไม่ยืนยาว""คนอ้วนมีความชื้น-เสมหะสะสมมาก"เหตุแห่งโรคและการเกิดโรคอ้วนสาเหตุพื้นฐาน : เกิดจากความ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 280 สิงหาคม 2545
    ฝังเข็มลดความอ้วน (ตอนที่ ๑)ฮือฮากันมากเมื่อหลายปีก่อน ผู้คนจำนวนมากแห่กันเข้าคิวไปรอการฝังเข็มลดน้ำหนัก เพราะเชื่อว่า จะได้ผลดีเยี่ยม และทำให้สุขภาพดีด้วย (ไม่ทราบเป็นเพราะแรงโฆษณาเกินจริงหรือเปล่า)ยุดฮิตไปพักหนึ่ง เพราะไม่ง่ายอย่างที่คิดแต่ก็ยังมีผู้ที่นิยมไปฝังเข็มลดความอ้วน ด้วยความเชื่อว่า อย่างไรเสียยังปลอดภัยกว่าการใช้ยา เพราะเคยใช้ยาลดน้ำหนักมาแล้ว มีผลข้างเคียงคือ กินแล้วไม่สบายตัว ...