โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันพอพูดถึงหลอดเลือด หลายคนคงคิดถึงหลอดเลือดที่มีมากมายของร่างกาย เมื่ออุดตันไปบ้างก็คงไม่ใช่เรื่องใหญ่โต คงไม่ถึงตาย ครับ...ถ้าเป็นหลอดเลือดทั่วๆไปคงไม่เป็นไร แต่ที่เป็นไร เพราะเป็นหลอดเลือดที่หัวใจ ก่อนที่จะว่ากันต่อไปถึงหลอดเลือดที่หัวใจ เราคงมาทำความเข้าใจกันถึงหัวใจสักนิดดีไหมครับว่าทำไมหัวใจสำคัญนัก ใครๆ ก็รู้ดีว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    หลอดเลือดหัวใจหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจหรือหลอดเลือดโคโรนารี (Coronary artery) เป็นหลอดเลือดแดงที่นำออกซิเจนและอาหาร คือ เลือดจากหัวใจไปยังกล้ามเนื้อหัวใจกล้ามเนื้อหัวใจมีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยการหดตัวและคลายตัว กล้ามเนื้อหัวใจเป็นกล้ามเนื้อที่หดและคลายตัวเองตลอดเวลา ตั้งแต่เราเกิดจนกระทั่งตาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    ถ้าเอ่ยถึง “มะเร็ง” เมื่อหลายปีก่อน หลายคนอาจจะตื่นกลัวกับโรคนี้แต่...ในวันนี้ฟังกันมาจนชาชินแล้ว อาจจะรู้สึกเฉย ๆ แต่ซ่อนความกลัวเอาไว้ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้สามารถรักษาเยียวยาให้มะเร็งหายขาดได้ และชะลอการตายจากมะเร็งได้ไม่น้อยจากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขเมื่อปี พ.ศ. 2528 มะเร็งมีอัตราตายสูงเป็นอันดับ 2 รองจากอุบัติเหตุ แต่มาในปัจจุบันลดอันดับลงมาเป็นอันดับ 3 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    โรคภัยไข้เจ็บเป็นเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้เกิด แต่ทุกวันนี้มีคนเจ็บป่วยมากมาย ทั้งทางร่างกายและจิตใจ จนถึงขั้นที่โรงพยาบาลบางแห่ง จะมีผู้ป่วยหรือญาติมารอเข้าคิวจองบัตรกันตั้งแต่ยังไม่สว่าง โรคทางจิตใจก็เช่นเดียวกับทางด้านร่างกาย เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้น ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ไปจนไม่สามารถปรับตัวหรือแก้ไขปัญหาได้ดังเช่นเคย และในบางรายก็อาจมีอาการรุนแรงผิดปกติ ถึงขั้นเป็นอันตรายต่อตนเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    เชิญเล่าเรื่องให้เพื่อนฟัง ขอเชิญท่านผู้อ่านร่วมเขียนเรียงความเล่าประสบการณ์ การดูแลรักษาสุขภาพตนเอง หรือให้แก่ผู้อื่น (สมาชิกในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือเพื่อนร่วมงาน) ความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษฟุลสแก๊ปโดยประมาณ ส่งไปยังสำนักงานหมอชาวบ้าน ก่อนวันที่ 25 ของทุก ๆ เดือน คณะกรรมการจะตัดสินเรียงความทุกเดือน โดยคัดเลือกเรียงความที่เหมาะสมที่สุด ลงตีพิมพ์ เรื่องใดที่ตีพิมพ์ลงในหมอชาวบ้าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นอันที่จริง “ความดันเลือดสูง” ไม่ใช่อาการ (symptom) แต่เป็นอาการแสดง (sign) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    มะเร็งเป็นได้กับคนทุกกลุ่มอายุ แต่อายุมากขึ้นอัตราเสี่ยงก็มีมากขึ้นด้วย การมีชีวิตอยู่อย่างถูกสุขอนามัยเป็นการป้องกันมะเร็งได้ดีที่สุดดร. เนสตา วิน เอลลิส แห่งชิคาโก ได้รวบรวมผลงานการวิจัยเรื่องมะเร็งไว้มาก ท่านกล่าวว่า อย่างน้อยในปีที่แล้วสหรัฐอเมริกาได้ใช้เงินไปถึง 1.75 พันล้านดอลลาร์ เป็นผลให้เราได้รับความรู้มากขึ้น และอัตราอยู่รอดภายหลังเป็นมะเร็งก็มากขึ้นด้วยต่อไปนี้เป็นความรู้ใหม่ ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    คนไข้ที่มีความเศร้าจำแลงนี้ มักจะมาหาหมอด้วยอาการทางกาย มิใช่มาบอกหมอตรง ๆ ว่าเบื่อโลก อยากตาย ฯลฯโรคความเศร้าออกจะมีอยู่แพร่หลายในทุกประเทศทั่วโลก ถึงกับมี “คณะกรรมการนานาชาติเพื่อการป้องกัน และรักษาโรคซึมเศร้า” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า ดีเพรสชั่น ตั้งอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กรรมการแต่ละท่านล้วนเป็นศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยในประเทศต่าง ๆ เช่น สเปน, อิตาลี, สวีเดน, เยอรมัน, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    มีการค้นพบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับวิตามินซีต่ำ จะทำให้มีอาการรุนแรงขึ้น รวมทั้งมีอาการอื่นแทรกซ้อน เช่น อาการหัวใจล้มเหลว, ไตวาย ตาบอด และแผลเปื่อยในการศึกษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน 60 ราย ที่โรงพยาบาลรอยัล ปรินซ์ อัลเฟรต นครซิดนีย์ ออสเตรเลีย พบว่าผู้ป่วยเหล่านี้มีระดับวิตามินซีต่ำกว่าคนปกติร้อยละ 50-80 แพทย์จากมหาวิทยาลัยซิดนีย์ สรุปว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการรุนแรงมากเท่าใด ...