อาหาร 5 หมู่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 165 มกราคม 2536
    อาหารปลอดสารพิษ...ทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพที่ดีกว่า“พลังของผู้บริโภค เป็นพลังอันศักดิ์สิทธิ์ที่กำหนดกลไกการตลาดได้” ประโยคข้างต้นเมื่อหลายปีก่อน หลายคนยังไม่แน่ใจ แต่ปัจจุบันมีคนจำนวนไม่น้อยเริ่มรู้สึกว่าภารกิจนี้เป็นหน้าที่ที่เราทุกคนจะต้องเริ่มปฏิบัติการในอันที่จะปกป้องคุ้มครองสวัสดิภาพตนเอง และเพื่อนร่วมโลกคนอื่นๆ ที่ต้องอยู่ในสภาพ ”หมดทางเลือก” อยู่ร่ำไป เพื่อพบกับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 165 มกราคม 2536
    สาคูไส้หมูพอใกล้ถึงปีใหม่ทีไร หลานๆ ที่บ้านเป็นต้องนั่งนับวันนับชั่วโมงรอป้าจุกทุกที ป้าจุกเองก็ดูเหมือนจะรู้ใจหลานๆ และไม่เคยทำให้หลานๆผิดหวัง ป้าจุกรู้ดีว่า ที่หลานๆ เฝ้ารอนั้น คือ สาคูไส้หมูสุดแสนอร่อยของป้าจุกนั่นเอง ใครได้มีโอกาสชิมสาคูไส้หมูของป้าจุกแล้ว ไม่ขอกินอีกรอบนั้นเป็นไม่มีดิฉันเองก็ได้มีโอกาสลิ้มรสอร่อยนี้หลายครั้ง ด้วยความที่อยากให้อาหารอร่อยๆของไทยแบบนี้มีการทำกินกันเองในบ้าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ต้มโคล้งปลาดุกย่างอาหารไทยรสจัดจ้านที่ไม่ควรพลาดเมื่อเอ่ยถึงต้มโคล้ง หลายคนโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่มักจะถามว่าคืออะไร กินไม่เป็น ซึ่งต่างจากต้มยำซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ดิฉันก็ยังหาคำตอบไม่ได้เหมือนกันว่า ทำไมต้มโคล้งจึงไม่ฮิตเท่าต้มยำทั้งๆที่รสชาติใกล้เคียงกัน และเครื่องปรุงก็คล้ายๆ กัน ที่ต่างกัน คือต้มโคล้งมักจะใช้ปลาย่าง หรือปลากรอบ ในขณะที่ต้มยำจะใช้ปลาสด หรือกุ้งสด ต้มโคล้งจะใช้มะขามเปียก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    วิธีเลือกร้านอาหารขณะเดินทาง“ไหน แวะร้านไหนดี” คนขับรถ ถามเพื่อนร่วมทาง “เอาร้านโน้นสิ คนเยอะดี สงสัยอร่อย” นั่นคือ คำตอบที่ได้รับบทสนทนาข้างต้นนี้เป็นตัวอย่างของวิธีการหนึ่งในการเลือกร้านอาหารที่จะเข้าไปบริโภคของคนทั่วไป ซึ่งก็ถือได้ว่าเป็นวิธีที่มีความเหมาะสมในระดับหนึ่ง เพราะร้านที่คนเข้าไปใช้บริการกันมากมักเป็นร้านที่อาหารอร่อย ราคาไม่แพงเกินไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    เต้าส่วนเมื่อเย็นวันก่อน หลานสาว (คนสวย) เดินหน้าแฉล้มเข้ามาถามว่า “หมอชาวบ้านครั้งต่อไปคุณป้าจะเข้าครัวทำอะไรคะ หนูขอเป็นขนมนะคะ” ดิฉันก็คิดว่าดีเหมือนกัน แนะนำอาหารคาวมาแล้วหลายครั้ง แต่...เอ จะทำขนมอะไรดีล่ะ นึกไปนึกมาก็ไปลงที่เต้าส่วน เพราะความชอบโดยส่วนตัว คุณแก้วบอกว่าทำไมทำของกล้วยๆ จังเลย เอาอย่างอื่นดีกว่าขณะที่สาวๆ หลายคนบอกว่าไม่หมูนะพี่ ทำยากออก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    ไก่ทอดไม่ใช้น้ำมันวันนี้นึกยังไงขึ้นก็ไม่ทราบ รู้สึกอยากกินไก่ทอดกับข้าวสวยร้อนๆ ขึ้นมาจับใจ เปรยให้หลานสาวฟัง เขาก็มีน้ำใจบอกว่าเดี๋ยวจะเดินไปซื้อไก่ทอดหน้าปากซอยมาให้ดิฉันนึกภาพเห็นไก่ทอดที่แม่ค้ามักจะเอาลงไปชุบแป้งก่อนทอด หรือไม่ก็ทอดอยู่ในกระทะที่มีน้ำมันซึ่งจำสีเก่าไม่ได้แล้วก็ส่ายหัวบอกหลานว่าไม่เอาดีกว่า เพราะเคยเจอไก่ทอดประเภทหนังกรอบที่พอฉีกหรือหั่นแล้วเจอเลือดแดงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    เนื้อเค็มคงจะมีบ่อยครั้งทีเดียวที่คุณแม่บ้านเกิดความรู้สึกเบื่ออาหารสดอันจำเจ เพราะทั้งเนื้อสดและผักสดเท่าที่ปรากฏอยู่ในท้องตลาดทุกวันนี้ หากใครลองสังเกตดูจะพบว่า มีซ้ำๆ กันอยู่ไม่กี่ชนิดเท่านั้น โดยเฉพาะผักสดจะเหลืออยู่แต่เฉพาะ “ผักจีน” (ใช้สารเคมีมาก) ซึ่งได้แก่ คะน้า ผักกาดหอม ต้นหอม ผักชี ฯลฯ ส่วน “ผักไทย” (ใช้สารเคมีน้อยหรือไม่ใช้เลย) เช่น ผักหวาน มะรุม กระถิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    กล้วย – สับปะรดทอด (ฟิเลต์)เมื่อช่วงเดือนที่แล้ว หลายๆ คนเครียดมาก รู้สึกว่าบ้านเมืองถึงจุดอับ ไร้อนาคต หลานสาวดิฉันก็เช่นกัน วันก่อนแกเลยมาขออนุญาตไปพักผ่อนสักพัก ดิฉันถามว่าจะไปไหน แกบอกยังไม่รู้เลย หายไป3 วัน ก็หอบปลาหมึกแห้งมาฝากพร้อมผิวสีกาแฟ เล่าให้ดิฉันฟังว่า ไปเกาะเสม็ดมา ไปเห็นทะเลแล้วรู้สึกค่อยหลุดออกจากภาพเก่าๆ หน่อย เพราะทะเลมันกว้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    กระท้อนลอยแก้วในช่วงเดือนเมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน อาจถือได้ว่าเป็นช่วงที่ร้อนที่สุดก็ว่าได้ ถ้าเป็นอุณหภูมิความร้อนของบรรยากาศทางการเมืองที่กำลังคุกรุ่นอยู่ขณะนี้ เราท่านในฐานะพลเมืองตัวเล็กๆก็ได้ทำหน้าที่กันอย่างดีที่สุดแล้วในช่วงที่ผ่านมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    ปลาเค็มเป็นที่ทราบกันดีว่าปลาเป็นอาหารที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนไทยเรา จนมีสำนวนที่เราคุ้นเคยและพูดกันจนติดปากว่า “กินข้าวกินปลา” หรือกล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ในด้านอาหารของไทยเราว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” นั่นย่อมแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดแล้วว่า ปลาเป็นอาหารสำคัญยิ่งของไทยเรามาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว แต่เมื่อสภาพของบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป ...