อาหาร 5 หมู่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    ปูเค็มหลนอาหารประเภทหลน เป็นอาหารที่ต้องเคี่ยวส่วนประกอบบางอย่าง เช่น ปลาร้า ปลาเจ่า ให้ละลายและงวดหลน กะปิคั่ว แหนมหลน ปูเค็มหลน ฯลฯ อาหารประเภทหลนจะต้องมีผักสดแกล้มเพราะรสชาติจะเข้มข้น มีรสเปรี้ยวจัด เค็มจัด บางชนิดมีรสหวานด้วย เช่น เต้าเจี้ยวหลน กะปิคั่ว อาหารหลนมักไม่นิยมออกรสเผ็ด ถ้าใครชอบกินเผ็ดก็ต้องเคี้ยวพริกขี้หนูสดตามไปด้วย จะได้รสชาติเผ็ดอีกแบบหนึ่ง ที่สะใจจริงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 216 เมษายน 2540
    สลัดแขกปัจจุบันมีผู้สนใจเรื่องอาหารการกินเพื่อสุขภาพกันมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด หลายคนหลีกเลี่ยงอาหารที่กินแล้วกระตุ้นให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ถ้าเป็นกับข้าวก็มักเลี่ยงแกงที่ใส่กะทิ หันมากินแกงป่า แกงเลียง แกงจืด แกงส้ม ฯลฯ อาหารประเภททอดก็สนใจน้อยลง จะมีก็แต่เด็กวัยรุ่นเท่านั้นที่นิยมกินอาหารทอดๆ ตามอย่างฝรั่งโดยไม่เกรงว่า “โรคอ้วน” จะมาเยือน“เข้าครัว” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 213 มกราคม 2540
    ห่อหมกใบยอ“เข้าครัว” ฉบับนี้ ขอแนะนำ “ห่อหมกใบยอ” อาหารไทยที่มีรสชาติเข้มข้น มีสารอาหารเกือบครบถ้วน เพราะในห่อหมกประกอบด้วย โปรตีน ไขมัน เครื่องเทศ ที่เป็นสมุนไพรและผักไม่น้อยเชียวค่ะสมัยก่อนถ้าจะกินห่อหมกจะต้องทำกินกันเองในบ้าน หาซื้อยาก เพราะวิธีทำมีหลายขั้นตอน แต่สมัยนี้ “ห่อหมก” หาซื้อง่าย เนื่องจากคุณแม่บ้านต้องทำงานนอกบ้าน ไม่มีเวลานัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    อาหารว่าง...ดีจริงหรืออาหารว่าง คือ อาหารมื้อเล็กๆ ที่กินระหว่างอาหารมื้อหลักๆเมื่อคุณแม่บ้านไปจ่ายตลาด จะเห็นว่าในถุงกับข้าวนั้นจะต้องมีถุงอาหารว่างสำหรับคุณสามีและเด็กๆ ถึง 1 ใน4 เลยทีเดียว เมื่อถามคุณแม่เหล่านี้ว่าจะซื้ออะไรไว้เป็นอาหารว่างให้สมาชิกในครอบครัว เธอก็จะแจกแจงรายการอาหารเหล่านั้นมาเสียยาวเฟื้อย เช่น ไส้กรอก มันฝรั่งทอด คุ้กกี้ พิซซ่า ขนมปังกระเทียม ช็อกโกแลต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    น้ำเต้า ผักสารพัดประโยชน์ของชาวโลก...กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอยน้ำเต้าอันลอยจะถอยจม...ข้อความที่คัดมาข้างบนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาชื่อ “เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา” มีข้อความทำนายความเสื่อมของผู้คนในกรุงศรีอยุธยาก่อนถูกกองทัพพม่าตีแตกเป็นครั้งที่สอง เมื่อกว่าสองร้อยปีมาแล้วบางส่วนของเพลงยาวดังกล่าวได้รับการจดจำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 ตุลาคม 2539
    ฟักทองสังขยาเครื่องปรุงไข่ไก่14 ฟอง , หัวกะทิ1/2 กิโลกรัม , น้ำตาลปีบ1 กิโลกรัม , ฟักทองขนาดย่อม3 ลูก , ใบตองแห้งเล็กน้อย , ฝอยทองสำหรับโรยหน้าเล็กน้อยวิธีทำ1.นำฟักทองล้างเปลือกนอกให้สะอาด แล้วเจาะตรงกลาง ควักไส้ฟักทองและเมล็ดออกให้หมดทั้ง3 ลูก ฝาที่เจาะเก็บไว้ด้วย จากนั้นนำมาล้างให้สะอาด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 205 พฤษภาคม 2539
    อาหารไทย4 ภาค วัฒนธรรมไทยเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก ทั้งในเรื่องความสวยงาม วิจิตรพิสดาร ความอ่อนช้อย แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัวของไทย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความละเอียด พิถีพิถัน ประณีต ยากที่จะหาชาติอื่นเทียบเทียมอาหารไทยก็เช่นเดียวกัน เพราะนอกจากรสชาติที่หลากหลายถูกปากคนชาติต่างๆแล้ว ยังมีคุณค่าทางโภชนาการ และจุดเด่นในการเป็นยารักษาโรคด้วยวัฒนธรรมกินอาหารพื้นเมืองของไทยนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 เมษายน 2539
    ต้มข่าไก่สับปะรด เครื่องปรุงสับปะรด กะทิ ตะไคร้ ใบมะกรูด ข่าอ่อน พริกขี้หนูแห้ง หรือพริกชี้ฟ้าแห้ง พริกขี้หนูสด มะนาว น้ำปลา ผักชีฝรั่ง ผักชีลาว เห็ดฟาง เนื้อไก่วิธีปรุง1. นำพริกชี้ฟ้าแห้งมาย่างไฟให้หอม2. นำกะทิมาต้มให้แตกมันหรือพอเดือด แล้วจึงใส่ตะไคร้ ใบมะกรูด ข่าอ่อน เนื้อไก่ พอเนื้อไก่สุก ใส่สับปะรด เห็ดฟาง3. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    แกงเลียงบวบและผัดบวบเพื่อให้สอดคล้องกับคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าที่เสนอเรื่อง บวบ : ผัก ใบ ใย เมล็ด ประโยชน์เหลือหลาย “เข้าครัว” จึงขอเสนอรายการอาหารเกี่ยวกับบวบถึง 2 รายการคือ แกงเลียงบวบและผัดบวบ ซึ่งอาหารทั้ง 2 อย่างนี้เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปอยู่แล้ว แต่คนรุ่นใหม่อาจจะกินบวบไม่ค่อยเป็น อยากให้ลองชิมดูจะพบว่าบวบนั้นหวานอร่อยอย่าบอกใครเชียวลองมาเข้าครัวทำตามขั้นตอนที่เสนอมาข้างล่างนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    บวบ : ผักผลพื้นบ้าน ดอกนั้นสีงาม“สองเต้าห้อยตุงตังถุงตะเคียว โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้มเสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อมมันเน่าเชยน่าชมนางเทวี...”บทกลอนข้างต้นนี้คัดมาจากบทละครเรื่อง ระเด่นลันได ของพระมหามนตรี (ทรัพย์) แต่งไว้ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 นับเป็นหนังสือกลอนชั้นเอกเรื่องหนึ่งจำพวกเรื่องล้อเลียนขบขัน กลอนที่ยกมานั้นเป็นบทชมโฉมนางประแดะ เมื่อระเด่นลันไดมาพบครั้งแรก ...