อาหาร 5 หมู่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 250 กุมภาพันธ์ 2543
    ตำนานมังสวิรัติสะเดา-น้ำปลาหวาน...ตำนานมังสวิรัติครั้งแรกที่เพื่อนชวนไปกินอาหารมังสวิรัติที่ร้านตำนานมังสวิรัติ ก็ย้อนถามเพื่อนไปว่าทำไมต้องตำนาน...นาน...ด้วย ตำแป๊บเดียวไม่ได้หรือไง เพื่อนก็ค้อนให้ทีนึงแล้วถามว่า ตกลงจะไปหรือไม่ไป พอเข้าไปในร้านยังตกใจว่า นี่หรือร้านอาหารมังสวิรัติ แต่แล้วสายตาก็เหลือบไปเห็นมุมบุฟเฟ่ต์ที่มีอาหารวางอยู่เรียงรายเยอะมาก ตั้งแต่ขนมจีนน้ำพริก-น้ำยา-น้ำยาป่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 248 ธันวาคม 2542
    สุกี้หม้อไฟเครื่องปรุงเตรียมผักสด ตามชอบใจ เช่น ผักบุ้ง ผักกาดขาว ผักปวยเล้ง เห็ดต่างๆ ขึ้นฉ่าย ผักชีเครื่องสุกี้เจ เช่น ปลาหมึก ลูกชิ้น กุ้ง ลูกชิ้นปลา หมูยอ ลูกชิ้นเห็ดหอม เต้าหู้ขาว ลูกชิ้นสาหร่ายวุ้นเส้นน้ำซุปฟักอ่อน กะหล่ำปลี เห็ด ข้าวโพดทั้งฝัก (หรือซางข้าวโพดก็ได้) หั่นเป็นท่อนๆ รากผักชีบุบ เกลือนิดหน่อยน้ำจิ้มสุกี้น้ำเต้าหู้ยี้ ถั่วลิสงคั่ว พริกขี้หนู บีบมะนาวลงไปในเครื่อปั่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 247 พฤศจิกายน 2542
    นม-น้ำเต้าหู้-ไข่ผู้ถาม สุรชัย/สุราษฎร์ธานีนมแคลเซียมสูงกับนมถั่วเหลือง ไม่ทราบว่าอย่างไหนจะมีประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุมากกว่ากันผมอายุ ๗๐ ปี มีปัญหาที่จะขอเรียนถามคุณหมอ ดังนี้ครับ๑.ระหว่างนมแคลเซียมสูงกับนมถั่วเหลือง ไม่ทราบว่าอย่างไหนจะมีประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุมากกว่ากัน๒.ผมกินไข่ไก่วันละ ๑ ฟองเป็นประจำ ไม่ทราบว่าจะทำให้ไขมัน โคเลสเตอรอล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 247 พฤศจิกายน 2542
    มัสมั่นไก่ราดข้าว"มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากได้ใฝ่ฝันหา"นั่นเป็นส่วนหนี่งของวรรณคดีของไทยที่บรรยายเกี่ยวกับแกงมัสมั่นของไทยในอดีตเอาไว้ แสดงให้เห็นว่ามัสมั่นเป็นอาหารไทยที่มีเสน่ห์อย่าง มากในเรื่องของรสชาติความหอมหวล ของเครื่องเทศที่ใส่แล้วทำหนุ่มๆ ลุ่มหลงเสน่ห์ปลายจวักได้ แกงมัสมั่นมีทั้งมัสมั่นหมู มัสมั่นเนื้อ หรือมัสมั่นไก่ มัสมั่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 246 ตุลาคม 2542
    เดือนตุลาคมของทุกปี จะเป็นเดือนแห่งเทศกาลกินเจของชาวไทยที่มีความเชื่อส่วนหนึ่งว่าเป็นการถือศีล ไม่กินเนื้อสัตว์ ซึ่งก็จะปฏิบัติอย่างเคร่งครัด คอลัมน์นี้จึงใคร่ที่จะนำเสนอข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของอาหารเจ เพื่อเป็นความรู้และได้เปรียบเทียบกับอาหารปกติที่กิน เป็นประจำนอกเทศกาลกินเจ ว่าคุณค่าแตกต่างกันอย่างไร มากน้อยแค่ไหนอาหารเจที่พูดถึงในวันนี้ เป็นผัดผักรวมมิตรเจราดข้าว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 246 ตุลาคม 2542
    นมถั่วเหลือง ทำเองได้ง่ายจังเนื่องจากมีจดหมายจากผู้อ่านเขียนแนะนำวิธีการทำน้ำเต้าหู้เข้ามาในคอลัมน์ "ร่วมกันเรียนรู้" ทางคณะผู้จัดทำจึงขออนุญาตตีพิมพ์จดหมายของคุณสมกมล โพธิบุตรลงในคอลัมน์นี้ หากท่านผู้อ่านท่านใดมีสูตรการทำอาหารอื่นๆ ต้องการแนะนำก็สามารถติดต่อมาทางกองบรรณาธิการได้ดิฉันได้ทำน้ำเต้าหู้ หรือนมถั่วเหลืองดื่มเองเป็นประจำมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 243 กรกฎาคม 2542
    ข้าวราดผัดคะน้าหมูกรอบข้าวราดผัดคะน้าหมูกรอบ เป็นอาหารจานเดียวที่ค่อนข้าง ได้รับความนิยมจากคนทั่วไป คนทำงานนอกบ้านมักจะสั่งมากิน เป็นอาหารมื้อกลางวันแบบอาหารจานด่วน บางรายอาจสั่งไข่ดาวอีก ๑ ฟอง เพิ่มสีสันความน่ากินเข้าไปอีก ผัดคะน้าหมูกรอบจะทำกินเองที่บ้านก็ไม่ยากนัก เพราะมีผักคะน้ากับหมูกรอบเป็นหลักเท่านั้น และถ้าซื้อหมูกรอบสำเร็จมาแล้วก็ใช้เวลาผัดเพียง ๓-๕ นาที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 242 มิถุนายน 2542
    กินไข่อย่างปลอดภัย"การกินไข่ไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและอัมพาต"นี่คือข้อสรุปจากรายงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกันเมื่อเร็วๆนี้ โดยคณะวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้ทำการศึกษาในกลุ่มพยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์ จำนวน ๑๒๐,๐๐๐ คน ที่มีระดับไขมันโคเลสเตอรอลปกติอยู่แต่เดิมที พบว่า การกินไข่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคหัวใจและอัมพาต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 242 มิถุนายน 2542
    ขนมผักกาดผัดใส่ไข่ท่านผู้อ่านหลายท่านอาจจะนึกภาพไม่ออกว่า อาหารจานเดียว ชื่อขนมผักกาดผัดใส่ไข่นี้มีหน้าตาเป็นอย่างไร แต่หลายท่านก็คงจะรู้จักและเคยลิ้มรสมาบ้างแล้ว ซึ่งในปัจจุบันอาหารจานเดียวที่ว่านี้ค่อนข้างหากินได้ยาก ในอดีตมักจะขายตามรถเข็น และจะมีอาหารจานเดียวขายควบคู่กันไปคือ ผัดหมี่เหลืองขนมผักกาดจะมีส่วนประกอบสำคัญ คือ แป้งขนมผักกาด ซึ่งทำจากแป้งและหัวไชเท้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 241 พฤษภาคม 2542
    มะยม : ความเปรี้ยวที่เป็นมงคลของชาวไทยในบรรดาต้นไม้ที่มีความผูกพันจนทำให้ประทับใจมาตั้งแต่เด็ก สำหรับผู้เขียนนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด บางชนิดเป็น ความรู้สึกเฉพาะตัว แต่บางชนิดก็เป็นความรู้สึกร่วมกันกับผู้คนอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ในบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมเดียวกัน เช่น เป็นเด็กในชนบทภาคกลาง เมื่อกว่า ๔๐ ปีก่อนโน้น เด็กสมัยนั้นใกล้ชิดกับธรรมชาติและต้นไม้มากกว่าเด็กสมัยนี้หลายเท่า ...