อาหารสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 1999 พฤศจิกายน 2538
    พริกขี้หนูสัญลักษณ์ของขนาดและคุณภาพ“เล็กพริกขี้หนู”สำนวนที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นสำนวนในภาษาไทยที่ใช้เปรียบเทียบสิ่งซึ่งมีขนาดเล็ก แต่มีความสามารถสูง เช่นเครื่องใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ที่มีขนาดเล็กกว่าในอดีตอย่างมากมาย แต่มีความสามารถสูงขึ้นหลายเท่า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคิดเลข เครื่องเล่นแผ่นซี.ดี. (Compact Dise) หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ผักขม : ความขมที่เป็นทั้งผักและยา“ยามรัก น้ำต้มผักก็ว่าหวาน”ข้อความที่ยกมาข้างต้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของคำพังเพยเก่าแก่ที่ชาวไทยในอดีตคุ้นเคยกันทั่วไป มีความหมายว่า เมื่อขณะมีความรักกันนั้น คนรัก (หรือสามี-ภรรยา) ทำอะไรให้ก็ดีไปหมด เช่น น้ำต้มผัก (ซึ่งมีรสขม) ก็รู้สึกว่ามีรสหวาน เป็นต้นจากคำพังเพยบทนี้ หากพิจารณาให้ดีจะพบว่า คนไทยในอดีตคุ้นเคยกับความหมายของน้ำต้มผักเป็นอย่างดีว่ามีรสขม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    ผักกระเฉด ผักพื้นบ้านที่รู้จักนอนผักพื้นบ้านดั้งเดิมของไทยหลายชนิด แพร่หลายและได้รับความนิยมจากชาวไทยทั่วประเทศ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น แต่ชื่อที่นิยมเรียกกันบางชื่อมีความหมายได้หลายอย่าง และบางความหมายไม่ค่อยสุภาพหรือไม่น่าฟัง จึงถูกตั้งชื่อใหม่ให้ใช้เรียกหรือเขียนอย่างเป็นทางการ ( เช่นเป็นราชาศัพท์ ) ผักพื้นบ้านที่อยู่ในข่ายดังกล่าวมานี้มีหลายชนิด เช่น ผักบุ้ง ( ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    บัวสาย : สัญลักษณ์แห่งเยื่อใยและความลึก “ก้านบัวบอกลึกตื้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    บอน : ผักพื้นบ้านที่มากับความคัน“เหมือนน้ำกลิ้งบนใบบอน”ข้อความที่ยกมาข้างต้นมีเป็นสำนวนไทยโบราณ ใช้เปรียบเทียบกับสิ่งที่ไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงไปได้รวดเร็ว คล้ายหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน สำนวนนี้พ่อเพลงพื้นบ้านมักนำมาใช้โต้คารมกับแม่เพลงฝ่ายตรงข้าม โดยเปรียบว่า “น้ำใจหญิง เหมือนน้ำกลิ้งบนใบบอน” เป็นต้นการที่ชาวไทยในอดีตนำเอาลักษณะหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    สมุนไพรไทย กระแสโลกาภิวัฒน์ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมานี้ ดูเหมือนผู้คนจะเริ่มให้ความสนใจกับยาสมุนไพรพื้นบ้านกันอย่างมาก โดยเฉพาะในร้าน ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมก็มีผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรประเภทต่าง ๆ ออกมาจำหน่าย เช่น ยาฟ้าทะลายโจร แก้ไข้เจ็บคอ ยาขมิ้นชัน แก้โรคกระเพาะอาหาร แชมพูสมุนไพรว่านหางจระเข้ อัญชัน ทองพันชั่ง รวมไปถึงชาสมุนไพรชงดื่ม เช่น รางจืด มะตูม ขิง ดอกคำฝอย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    ผักตบ : ผักพื้นบ้านดั้งเดิมที่ถูกลืม ผักพื้นบ้านของไทยหลายชนิด มีชื่อเรียกนำหน้าด้วยคำว่า “ผัก” เสมอ เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด ผักขม และผักตบ เป็นต้น ผักที่มีคำว่า “ผัก” นำหน้าชื่อเหล่านี้ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในบริเวณประเทศไทยนี้เอง มิได้นำเข้ามาจากภายนอกดังเช่นพืชผักอีกหลายชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 191 มีนาคม 2538
    หมี่กะทิดิฉันได้มีโอกาสไปเที่ยวบ้านเพื่อนอีกครั้ง หลังจากที่หมกมุ่นกับงานอยู่หลายสัปดาห์เพื่อปิดต้นฉบับให้เสร็จ จะได้ไปเที่ยวพักผ่อนอย่างสบายอกสบายใจดิฉันคิดว่าเวลาเพียงแค่เสาร์-อาทิตย์ที่ได้ออกไปเที่ยวพักผ่อนตามแถวชานเมืองหรือต่างจังหวัด ถือว่าเป็นเวลาที่มีค่าที่สุด ทั้งนี้เพราะธรรมชาติและบรรยากาศที่ได้รับและสัมผัสเป็นสิ่งที่บรรยายได้ไม่รู้จบ แต่ที่แน่ๆ หายใจคล่องปอดดีมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 191 มีนาคม 2538
    ตำลึง : ผักพื้นบ้านที่รู้คุณค่าได้จากชื่อ“พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง”ข้อความที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นคำพังเพยของคนไทยโบราณ ซึ่งคนไทยสมัยนี้ไม่ค่อยจะได้ยินหรือนำมาใช้กันบ่อยนัก ความหมายของคำพังเพยบทนี้ก็คือ บางครั้งการพูดมีค่าน้อยกว่าการไม่พูด (นิ่งเสีย) อย่างมากมาย โดยเปรียบเทียบจากค่าของเงินที่ใช้กันในสมัยนั้นคือ สองไพเบี้ยกับตำลึงทอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    ผักไห่ : ผักไทยโบราณที่ลูกหลานไม่รู้จัก“โอกาสหน้าพี่จะมาหาใหม่ไม่ลืมคนชื่อวิไล บ้านผักไห่อยุธยา...”เนื่องจากคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ตอนนี้เขียนเพื่อตีพิมพ์ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งมีวันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งความรักอยู่ในเดือนนี้ด้วย ผู้เขียนจึงถือโอกาสนำเอาเนื้อเพลงรักของชาวชนบทไทย(เพลงลูกทุ่ง)มาฝากท่านผู้อ่าน เพลง ลูกทุ่งเพลงนี้ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา ...