อาหารสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    ผักบุ้ง : ผักพื้นบ้านยอดนิยมตลอดกาล“น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง”ข้อความที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นสำนวนไทยที่ใช้กันมาแต่ครั้งโบราณ มีความหมายเปรียบเทียบถึงคำพูด(หรือข้อเขียน)ที่มีปริมาณคำพูด(หรือตัวหนังสือ)มากมาย แต่มีเนื้อหาสาระน้อยนิดเดียว ปัจจุบันสำนวนนี้มักใช้กันสั้นๆว่า “น้ำท่วมทุ่ง” ทำให้คนไทยรุ่นใหม่หลายคนไม่ทราบถึงที่มาของสำนวนนี้ว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    5สหายทอดกรอบเห็นหน้าตาอาหารจานนี้แล้วอย่าเพิ่งคิดว่าเป็นเนื้อนะคะ เพราะทั้งหมดที่เห็นนั้นเป็นผักค่ะ5 สหายทอดกรอบก็คือ ผัก5 ชนิดชุบแป้งทอดนั่นเองเมื่อยังเด็กดิฉันจำได้ว่าไม่ชอบกินผักเลย แม่ต้องทั้งบังคับทั้งขู่ทั้งปลอบให้กินอย่างไรก็ไม่ได้ผล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ข้าวมธุปายาสคุณคงเคยคุ้นหูกันมาบ้าง สำหรับชาวพุทธกับชื่อข้าวมธุปายาส เพราะว่าครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล นางสุชาดาผู้เลื่อมใสในพุทธศาสนาได้ปรุงข้าวมธุปายาสถวายแก่พระพุทธเจ้า เวลาล่วงเลยมา ๒,ooo กว่าปีแล้ว ข้าวมธุปายาสก็ยังเป็นข้าวที่มีผู้ปรุงเพื่อกินอยู่กรรมวิธีการปรุงข้าวมธุปายาสมีหลายขั้นตอน เพราะก่อนปรุงต้องทำให้เครื่องปรุงทุกอย่างสุกเสียก่อน แล้วจึงนำมาปรุงรวมกันอีกครั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    จิก : ผักพื้นบ้านดอกงามจากป่าหิมพานต์ลิงลมเอย มาอมข้าวพองเด็กน้อยทั้งสอง มาทัดดอกจิกบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงร้องประกอบของเด็กภาคกลางในอดีต ชื่อเพลง “ลิงลม” ใช้ร้องประกอบการเล่นที่เรียกว่า “ลิงลม” เช่นเดียวกัน การที่เลือกเนื้อเพลงตอนนี้มา ก็เพราะมีข้อความบรรยายถึงเด็กสองคนนำดอกจิกมาทัด (หู)เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่าน(โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่)เมื่อเห็นชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ลักษณะของนิ้วมือการแพทย์จีนเชื่อว่าความแข็งแรงของพลังม้าม(ในทัศนะของแพทย์จีน) มีผลกระทบต่อสมรรถนะของมือโดยตรง นอกจากนี้นิ้วทั้งห้ายังสามารถสะท้อนสภาพความแข็งแรงของร่างกายตามขั้นตอนของวัยที่แตกต่างกัน คือ (ตารางที่ 1)การดูลักษณะของนิ้วนั้นที่สำคัญคือ ดูความสั้นยาว ความตรง ความคด ความอ่อน ความแข็ง สีของนิ้วมือ เป็นต้น ลักษณะต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    สลัดผักและไข่วันนี้ดิฉันไปเดินตลาด เห็นผักสดละลานตาไปหมด จึงนึกได้ว่าใกล้เข้าหน้าหนาวแล้ว ในช่วงหน้าหนาวจะมีผักออกมามากมาย เพราะผักบางชนิดชอบอากาศหนาวจึงมีมากในหน้าหนาวพอเห็นอย่างนี้ เท้าเร็วเท่าความคิดเดินเข้าไปจับจ่ายผักอย่างสนุกสนาน ผักที่ซื้อมาก็มีผักกาดหอม ผักกาดแก้ว แครอท แตงกวา กะหล่ำปลีทั้งขาวและม่วง บลอกเคอรี่ ข้าวโพด ถั่วแดงต้มสุก หัวหอมใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    กุ่ม : ผักพื้นบ้านที่มีเป็นกลุ่มจ้ำจี้มะเขือเปราะ กะเทาะหน้าแว่นพายเรือแอ่นๆ กระทั่งต้นกุ่ม...บทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงที่เด็กไทยภาคกลางสมัยก่อนใช้ร้องประกอบการละเล่นอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “จ้ำจี้” ชื่อเพลง “จ้ำจี้มะเขือเปราะ” ซึ่งเป็นเพลงประกอบการเล่นจ้ำจี้นั้นยังมีเพลงอื่นๆอีกเช่น เพลง “จ้ำจี้มะเขือพวง” เป็นต้นในบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    ขนมจีนน้ำยาเมื่อเอ่ยถึง “ขนมจีนน้ำยา” หลายคนต้องร้องอ๋อ! เพราะรู้จักกันดีในนามของอาหารพื้นบ้านไทย ที่ทุกภาคให้ความสนใจและนิยมกินแกล้มกับผักต่างๆได้รสชาติดีทีเดียวในสมัยโบราณมีชาวบ้านหลายหมู่บ้านนิยมทำขนมจีนน้ำยาเมื่อถึงเทศกาลเข้าพรรษา-ออกพรรษา และก็ทำมากเป็นพิเศษเพื่อแบ่งไปทำบุญที่วัดส่วนหนึ่ง ที่เหลือก็แจกจ่ายให้เพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียงได้ชิมฝีมือ บ้านไหนทำอร่อยก็ได้รับคำชม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    มะตูม : ไม้มงคลและทรงคุณค่าเมื่อต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมานี้ ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อสังคมอันเป็นหน่วยงานที่ผู้เขียนเป็นสมาชิกอยู่ ได้จัดงานแนะนำองค์กรที่จัดตั้งขึ้นมาใหม่คือ มูลนิธิข้าวขวัญ และได้เชิญผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ ผู้สนับสนุนการทำงานของศูนย์ฯ ตลอดจนกัลยาณมิตร ฯลฯ มาร่วมงาน โดยจัดให้มีการกินอาหารร่วมกันด้วยเนื่องจากถือว่างานนี้เป็นงานมงคลที่สำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    มะนาว เปรี้ยวอย่างมีคุณค่าซักส้าวเอย มะนาวโตงเตง ขุนนางมาเอง ว่าจะเล่นซักส้าว มือใครยาว ...