อาหารสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 225 มกราคม 2541
    เราควรจะกินยาประเภทวิตามินไหมไม่มีความจำเป็นเลย ถ้าเรากินอาหารให้ครบ อาหารปกติธรรมดาที่เรากินกันอยู่ทุกวันนี้มีทั้งวิตามินและเกลือแร่เพียงพอ ที่จะทำให้เราเจริญเติบโตและแข็งแรงได้ วิตามิน คือ สารประกอบในอาหารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต แต่เราต้องการในปริมาณน้อยมาก คือ เป็นเพียงมิลลิกรัมหรือเพียงไมโครกรัม (๑ ในล้านของกรัม) ต่อวันเท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    อาหารแสลง : ต้องห้ามเรามักได้ยินคนเฒ่าคนแก่พูดถึงข้อห้ามมากมายเกี่ยวกับการกินและข้อควรปฏิบัติ เช่น คนที่ร้อนในง่ายห้ามกินของร้อน (คุณสมบัติหยาง) ของทอดๆ มันๆ ของเผ็ด เช่น- กินทุเรียนแล้วห้ามกินเหล้า- กินทุเรียนแล้วควรกินมังคุดหรือกินน้ำเกลือตาม- กินลำไยมากระวังตาจะแฉะ- เวลาเริ่มเป็นหวัด เจ็บคอ ควรกินพวกยาขม- เวลาร้อนใน ให้กินน้ำจับเลี้ยง หรือกินน้ำเก๊กฮวย- หญิงปวดประจำเดือนห้ามกินของเย็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    กะบุกถาม สุพัตรา/กรุงเทพฯ“กระบุก” สามารถลดน้ำหนักส่วนเกินได้โดยไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ตามที่เขาโฆษณาสรรพคุณเป็นความจริงหรือไม่ดิฉันเคยเห็นโฆษณาชิ้นหนึ่งเป็นเครื่องดื่มลดน้ำหนัก โดยระบุว่า ทำมาจาก “กระบุก” และสามารถลดน้ำหนักส่วนเกินได้โดยไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ช่วยกรุณาเปิดเผยข้อเท็จจริงด้วยค่ะ ว่าสรรพคุณตามที่เขากล่าวอ้างเป็นความจริงหรือไม่ผู้ตอบ ดร.สมเกียรติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    อาหารบำรุงของหญิงหลังคลอดผู้ถาม สมสุข/คลองสานอยากให้คุณหมอช่วยแนะนำอาหารไทย สำหรับบำรุงหญิงหลังคลอดที่กินได้และไม่ควรกินสัก ๑๐-๒๐ อย่างดิฉันคิดว่าการดูแลสุขภาพ คือ การเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อที่จะช่วยในการรักษาสุขภาพและร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ ดิฉันเคยถามหมอแผนปัจจุบันคุณหมอก็บอกว่ากินได้ทุกอย่าง แต่ก็มีบางครั้งที่ดิฉันได้อ่านหนังสือแล้วพบว่า มีบางสิ่งที่ไม่ควรกิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    ถั่วฝักยาว ผักผลพื้นบ้านยาวที่สุดในวงศ์ตระกูลคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าได้นำเสนอเรื่องราวของพืชพื้นบ้านชนิดต่างๆ ต่อเนื่องกันมาหลายปีแล้ว ตอนนี้คงเป็นครั้งแรกที่มีคำว่า “ที่สุด” ประกอบอยู่กับชื่อเรื่อง ซึ่งปกติผู้เขียนไม่นิยมใช้คำนี้เลย เพราะมีความเชื่อพื้นฐานตามหลักพุทธศาสนาว่า ทุกสิ่งล้วนไม่แน่นอน (อนิจจัง) จึงไม่น่าจะมีสิ่งใดสามารถใช้คำว่า “ที่สุด” ได้เลย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 223 พฤศจิกายน 2540
    ถั่วเขียว คุณค่าสีเขียวจากธรรมชาติ“ใหญ่ น้ำ ไม่งอก”คำพูดข้างบนนี้ เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่านคงเคยได้ยินมาบ้าง และอาจจำได้ว่าเป็นคำพูดที่ใช้กันในร้านก๋วยเตี๋ยว ระหว่างคนดินโต๊ะกับผู้ปรุง นับว่าเป็นภาษาเฉพาะของร้านก๋วยเตี๋ยวที่เกิดขึ้นเพื่อประหยัดคำพูดและเวลา แต่สามารถสื่อความหมายได้ครบถ้วน หากจะแปลก็คงได้ความว่า “ลูกค้าสั่งก๋วยเตี๋ยวน้ำเส้นใหญ่ไม่ใส่ถั่วงอก” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    รสชาติกับสุขภาพอาหารเป็นบำรุงเลี้ยงร่างกาย อาหารที่กินเข้าไปในร่างกายต้องอาศัยระบบการย่อย ดูดซึมและส่งลำเลียงไปเลี้ยงอวัยวะและส่วนต่างๆของร่างกาย (แพทย์แผนจีน หมายถึง กระเพาะอาหารและม้าม) การกินอย่างมีศาสตร์และศิลป์โดยคำนึงถึงลักษณะอาหาร วิธีการกิน และหลักการทะนุถนอม ระบบการย่อย (กระเพาะอาหารม้าม) จึงเป็นพื้นฐานสำคัญของการทำให้เกิดเลือดลมที่ดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    อุทกภัยไม่ยิ่งใหญ่กว่าโอฆะธรรมชาติของโลก (โอกาศโลก) โลก คือ ธรรมชาติที่อิงอาศัยซึ่งกันและกัน ขาดสภาพของธาตุใดธาตุหนึ่งไม่ได้” ธรรมชาติของโลก (โอกาศโลก) โลก คือ ธรรมชาติที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันและกัน ขาดสภาพของธาตุใดธาตุหนึ่งไม่ได้ ในกระบวนการของธาตุ ๔ ได้แก่ สภาพของธาตุดิน สภาพของธาตุน้ำ สภาพของธาตุไฟ และสภาพของธาตุลม อิงอาศัยเป็นปัจจัยร่วมรวมกันอยู่ได้ด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    ถั่วเหลือง พืชพื้นบ้านที่เป็นอนาคตของมนุษยชาติในบรรดาอาหารของมนุษย์โลกปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่ามาจากพืชเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อพิจารณาพืชที่นำมาใช้เป็นอาหาร ก็พบว่ามาจาก ๒ กลุ่มสำคัญ คือ พืชจำพวกหญ้า เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ฯลฯ และจำพวกถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ฯลฯ เป็นต้น ในพืชจำพวกหญ้านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 221 กันยายน 2540
    ผัก-ผลไม้พื้นบ้าน : ผักบุ้งไทยผักบุ้งเป็นไม้ล้มลุก ปลูกได้ดีในที่ลุ่มที่มีความชื้นสูง ต้นผักบุ้งมักจะเลื้อยทอดไปตามดินหรือน้ำ อาจขยายพันธุ์โดยการปักชำ ผักบุ้งจะออกตลอดปีแต่มีมากในช่วงฤดูฝน ในทางการแพทย์พื้นบ้าน ผักบุ้งมีรสเย็น มีสรรพคุณถอนพิษเบื่อเมาได้ในอาหารพื้นบ้านจะมีผักบุ้งไทยเป็นผักจิ้มน้ำพริกที่นิยมมากชนิดหนึ่ง อาจจะกินสด หรือนึ่ง ลวก และราดกะทิก็ได้ นอกจากนี้ อาจนำผักบุ้งไปผัด ...