วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    เดินเพื่อสุขภาพคนทำงานนั่งโต๊ะมักไม่เคลื่อนไหวร่างกาย ทำให้เสี่ยงต่ออาการหัวใจขาดเลือด ความดันเลือดสูง เบาหวานและโรคมะเร็งบางชนิด การเดินเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่ทำได้ในที่ทำงานปลอดภัย และถ้าเดินมากพอและเร็วพอจะช่วยป้องกันโรคดังกล่าว ฉบับนี้เสนอความรู้เกี่ยวกับการเดินแง่มุมต่างๆ เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวันพลังงานกับการเดินวัยเด็กที่เริ่มเดิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    มวยไทยแอโรบิกออกกำลังกายแบบ "รักชาติ "มีใครบ้างที่ไม่รู้ว่า "การออกกำลังกาย "เป็นการดูแลรักษาสุขภาพที่ดีที่สุดน่าแปลกที่ร้อยทั้งร้อย ไม่มีใครปฏิเสธ แต่วิธีการอันง่ายแสนง่ายเพียงแค่การลุกขึ้นขยับแข้งขา หรือก้าวเท้าออกไปจากสถานที่ทำงานอันคับแคบ กลับเป็นหนทางอันยากเข็ญที่คนมากมายพยายามหลีกเลี่ยงเราหนีไปหาอาหารเสริมแพงๆ วิตามินสารพัดแหล่งสกัด เข็มขัดลดหน้าท้อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะดังได้กล่าวไปแล้ว ทั้งจากหลักการของอาสนะและคำอธิบายของเชอริงตันโดยทั่วไป อิริยาบถที่นิ่ง สงบนั้น คือการที่กลไกระบบประสาทกล้ามเนื้อประสานงานกันได้พอเหมาะและใช้พลังงานน้อยที่สุด การคงสภาพและจัดปรับของอิริยาบถขึ้นกับการทำงานร่วมกันของระบบประสาทอัตโนมัติที่ละเอียดอ่อน มากมายประสานกับกล้ามเนื้อ ซึ่งกล้ามเนื้อมัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องถูกควบคุมโดยกลไกตอบสนองอันซับซ้อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    โยคะบำบัด : ท่าโยคะนิยามของท่าเราอาจให้คำจำกัดความ "ท่า" หมายถึง ลักษณะอาการ การวางตัวของร่างกาย 1)โดยมีการค้ำไว้ พยุงไว้ หรือ 2)การประสานกันของกล้ามเนื้อหลายๆ ส่วนเพื่อ ก)รักษาการวางตัวของร่างกายให้นิ่ง หรือ ข) เพื่อเป็นฐานสำหรับการขยับเคลื่อนในขั้นต่อไป ฐานนี้อาจจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนเป็นการเคลื่อนไหวเป็นขั้นๆ ที่มีรูปแบบเฉพาะเจาะจง ท่าที่มีประสิทธิภาพ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ อาสนะ (6)จากที่ได้อธิบายก่อนหน้า เราสามารถสรุป ดังนี้1. จุดประสงค์หลักของอาสนะคือ เอาชนะ"อังกเมจยตวา" ซึ่งเป็นสภาวะที่จังหวะธรรมชาติของเราถูกรบกวน เป็นสภาวะที่การดำเนินอิริยาบถพื้นฐานของเราถูกรบกวน อาสนะเป็นการฟื้นฟูระบบต่างๆ ในร่างกายให้ทำงานอย่างสอดประสานกัน2. อาสนะไม่ใช่แค่เพียงท่าอะไรสักท่า แต่เป็นอิริยาบถเฉพาะเจาะจง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (5) อาสนะ เราต้องตระหนักว่ากลไกตอบสนองต่ออิริยาบถ (postural reflexes) มีบทบาทสำคัญต่อการควบคุมมัสเซิลโทน และส่วนใหญ่ ก็ทำงานโดยการกระตุ้นของตัวรับความรู้สึกตามส่วนปลายของอวัยวะต่างๆ ในกล้ามเนื้อ ข้อต่อ และเส้นเอ็น ทั้งหมดนี้เกิดกับสัตว์ทั้งหลาย แต่มีข้อสังเกตสำหรับตัวมนุษย์เองที่วิวัฒนาการมายืน เดิน 2 ขา ที่วิวัฒนาการจนแขนและมือสามารถทำการจับ คว้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (4) อาสนะโศลกทั้ง 2 อธิบาย ว่าเราควรฝึกอาสนะอย่างไรเพื่อบรรลุผลตามที่ระบุ และเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราทำอาสนะด้วยวิธีนี้ แต่ก็แปลกที่คนทั่วไป และครูโยคะหลายคนกลับบอกให้ลูกศิษย์ใช้แรงมากๆ ทั้งๆ ที่ปตัญชลีระบุไว้อย่างชัดเจนว่า เราจะได้รับผลสูงสุดเมื่อทำโดยปราศจากความพยายาม prayatna saithilyat เมื่อฝึกอาสนะด้วยความผ่อนคลาย เมื่อฝึกประกอบกับการใส่ใจไปยังสภาวะแห่งอนันท์ ananta ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    ความดัน (ทุรัง) สูง ลดง่ายๆ ด้วย "โยคะ"เชื่อหรือไม่ว่า การฝึก "โยคะ" ที่ได้รับความนิยมไปทั่วเมืองไทยของเรามาระยะหนึ่ง (อาจ) เป็นมากกว่ากิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพสำหรับคนเมืองที่มีเวลาดูแลตัวเองน้อย หรือแฟชั่นการออกกำลังกายอีกรูปแบบหนึ่ง ที่เพียงถูกโฆษณาชวนให้เชื่อแบบอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงปัจจุบันมีหลักฐานการศึกษาทางวิชาการหลายชิ้น ยืนยันชัดเจนว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    ปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (3) อาสนะความหมายของคำว่า "อาสนะ" หมายถึง อิริยาบถ ดังนั้น เราควรฝึกควรทำการเรียนรู้มันตามนั้น การศึกษาผลของอาสนะก็ไม่ควรศึกษาแบบ kinesiology หรือศาสตร์แห่งการเคลื่อนไหว แต่ควรศึกษาแบบอิริยาบถที่นิ่ง ที่ขึ้นกับการคงสภาวะในอิริยาบถ tonic reaction ดังที่ได้กล่าวมาแล้วก่อนหน้า ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของอาสนะโชคไม่ดีที่มนุษย์นั้นคุ้นเคยกับการเคลื่อนไหว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ปรับสภาพกลไก กาย-ใจหากกล้ามเนื้อสูญเสียความแข็งแรงพื้นฐาน (tone) สัญญาณกระตุ้นจากภายนอกก็ไม่อาจทำให้เกิดการกระทำ หรือเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย เปรียบได้กับยางหากมีความตึงตัวก็จะสามารถดีดตัวต่อแรงที่มากระทำได้เต็มที่ แต่ถ้าหย่อนตัวการดีดตัวต่อแรงที่มากระทำก็จะน้อยลง สัญญาณจากภายในทำหน้าที่มากกว่าแค่รองรับสัญญาณจากภายนอก มันยังทำหน้าที่สกัดสัญญาณจากภายนอก รวมทั้งกำหนดประสิทธิภาพของสัญญาณภายนอก ...