การพักผ่อน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 227 มีนาคม 2541
    สวนครัว การพึ่งตัวเองด้านอาหารอย่างยั่งยืนคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ฉบับที่แล้วได้นำเสนอเรื่อง “สวนครัว”ไปครั้งหนึ่งแล้ว โดยโยงกับประเด็นวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจของไทยในยุคไอเอ็มเอฟ และความมั่นคงทางอาหาร ในตอนนี้จะเสนอเรื่องเกี่ยวกับสวนครัวต่อจากฉบับที่แล้ว โดยจะเน้นด้านการพึ่งตนเองด้านอาหารอย่างชัดเจนซึ่งรวมทั้งในยามปกติด้วย มิใช่ทำกันเฉพาะยามวิกฤติเท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 226 กุมภาพันธ์ 2541
    โรคนับร้อยมีที่มาจากอารมณ์“คุณหมอคะ เวลาใกล้มีประจำเดือน หนูจะปวดแน่นเต้านมและชายโครง บางทีคลำได้ก้อน แต่พอหมดประจำเดือน ก้อนที่เต้านมก็หายไปค่ะ หนูจะเป็นมะเร็งหรือเปล่าคะ”“เวลาใกล้มีประจำเดือน หนูมักปวดหัวข้างเดียว แต่บางครั้งเวลาเครียดก็เป็นค่ะ หนูเป็นโรคไมเกรนหรือเปล่าคะ”“เวลามีประจำเดือน รู้สึกอยากกินของเปรี้ยว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 226 กุมภาพันธ์ 2541
    สวนครัว ความมั่นคงทางอาหารในยุคไอเอ็มเอฟคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ฉบับนี้คงแตกต่างจากตอนก่อนหน้าย้อนไปหลายสิบฉบับ หรือในรอบหลายๆ ปี เนื่องจากไม่ได้นำพืชชนิดต่างๆ มาเสนออย่างเคย ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจของประเทศไทย และประเทศอื่นๆ อีกหลายประเทศ กำลังอยู่ในภาวะผันผวน และทรุดหนักจนถึงขั้นเลวร้ายในระดับที่ไม่เคยเป็นมาก่อนในรอบหลายสิบปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 225 มกราคม 2541
    มะเขือเทศผักผลแนวหน้าระดับโลกในบรรดาผักชนิดต่างๆ ที่ได้เขียนลงคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” นี้ติดต่อกันมาหลายปีแล้วนั้น ผู้เขียนพยายามเลือกนำเสนอเฉพาะผักที่จัดได้ว่าเป็นผักพื้นบ้านของไทยเท่านั้น กล่าวคือ หากไม่เป็นผักที่มีกำเนิดดั่งเดิมอยู่ในดินแดนไทยเองแล้ว ก็ต้องเป็นผักจากต่างแดนที่เข้ามาปลูกในเมืองไทยนานจนปรับตัวกลายเป็นผักพื้นบ้านไปเลย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    ถั่วฝักยาว ผักผลพื้นบ้านยาวที่สุดในวงศ์ตระกูลคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าได้นำเสนอเรื่องราวของพืชพื้นบ้านชนิดต่างๆ ต่อเนื่องกันมาหลายปีแล้ว ตอนนี้คงเป็นครั้งแรกที่มีคำว่า “ที่สุด” ประกอบอยู่กับชื่อเรื่อง ซึ่งปกติผู้เขียนไม่นิยมใช้คำนี้เลย เพราะมีความเชื่อพื้นฐานตามหลักพุทธศาสนาว่า ทุกสิ่งล้วนไม่แน่นอน (อนิจจัง) จึงไม่น่าจะมีสิ่งใดสามารถใช้คำว่า “ที่สุด” ได้เลย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 223 พฤศจิกายน 2540
    ถั่วเขียว คุณค่าสีเขียวจากธรรมชาติ“ใหญ่ น้ำ ไม่งอก”คำพูดข้างบนนี้ เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่านคงเคยได้ยินมาบ้าง และอาจจำได้ว่าเป็นคำพูดที่ใช้กันในร้านก๋วยเตี๋ยว ระหว่างคนดินโต๊ะกับผู้ปรุง นับว่าเป็นภาษาเฉพาะของร้านก๋วยเตี๋ยวที่เกิดขึ้นเพื่อประหยัดคำพูดและเวลา แต่สามารถสื่อความหมายได้ครบถ้วน หากจะแปลก็คงได้ความว่า “ลูกค้าสั่งก๋วยเตี๋ยวน้ำเส้นใหญ่ไม่ใส่ถั่วงอก” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    ถั่วเหลือง พืชพื้นบ้านที่เป็นอนาคตของมนุษยชาติในบรรดาอาหารของมนุษย์โลกปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่ามาจากพืชเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อพิจารณาพืชที่นำมาใช้เป็นอาหาร ก็พบว่ามาจาก ๒ กลุ่มสำคัญ คือ พืชจำพวกหญ้า เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ฯลฯ และจำพวกถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ฯลฯ เป็นต้น ในพืชจำพวกหญ้านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 221 กันยายน 2540
    ถัวแปบ ผักพื้นบ้านชื่อไทยโบราณในบรรดาผักพื้นบ้านดั้งเดิมของชาวไทยนั้นมีหลายชนิดที่เรียกชื่อด้วยถ้อยคำในภาษาไทยแท้ บ่งบอกลักษณะพิเศษที่เด่นมากของผักชนิดนั้นๆ เช่น ถั่วพู มีคำว่าพู แสดงลักษณะเด่นของฝัก ผักไห่ มาจากคำว่าไห บ่งบอกลักษณะทรงผลมะระพื้นบ้าน(ผักไห่) หรือน้ำเต้า มีคำว่า เต้า เป็นลักษณะของผลน้ำเต้าที่คล้ายเต้า (เช่น เต้านม) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    แม่ พลังแห่งความรักคนที่รักแม่มากๆ เป็นคนเลวไม่ได้เพราะไม่มีความรักใดๆ ในโลกที่ยิ่งใหญ่กว่าความรักของแม่ที่มีต่อลูก ในยามที่โลกแล้งรัก เพราะความอักเสบที่เกิดจากวัตถุนิยม บริโภคนิยมที่เกินเลย จิตใจมนุษย์ก็จะระส่ำระส่าย เพราะธรรมชาติของจิตใจมนุษย์ขาดความรักไม่ได้ ถ้าไม่รักใครและไม่มีใครรัก มนุษย์จะกลายเป็นคนเจ็บป่วย เมื่อเจ็บป่วยแล้วหันไปรักษาด้วยวิธีผิดๆ เช่น ยาเสพติด ยาบ้า ยาอี มั่วทางเพศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    สะตอ ผักพื้นบ้าน กลิ่นแรงของภาคใต้ชื่อวิทยาศาสตร์ Parkia speciosa Hassk. ชื่ออื่น กอตอ, ลูกตอ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน จัดให้สะตอเป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Leguminosae ซึ่งเป็นไม้จำพวกที่มีฝัก เช่นเดียวกับกระถิน ทองหลาง ถั่ว แต่ในหนังสือบางเล่มก็จัดสะตออยู่ในวงศ์ Mimosaceae คือ เป็นไม้ตระกูลเดียวกับไมยราบ จามจุรี สะตอเป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงเฉลี่ยได้ถึง ๓๐ เมตร ...