การพักผ่อน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ผักพื้นบ้านไทย : ของดีที่ถูกทอดทิ้งคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าได้เสนอเรื่องต้นไม้ชนิดต่างๆ ต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่าปีแล้ว แต่ก็ยังมีต้นไม้อีกมากมายหลายชนิดที่น่าสนใจและสมควรนำมาเขียนในคอลัมน์นี้ อย่างไรก็ตาม กองบรรณาธิการนิตยสารหมอชาวบ้าน ได้แนะนำให้เขียนเรื่องผักพื้นบ้านของไทยบ้าง เพื่อช่วยกันรณรงค์ให้ชาวไทยหันมาบริโภคผักพื้นบ้านไทยกันมากขึ้น ดังนั้น ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ทับทิม : อัญมณีแห่งผลไม้ศัพท์บางคำในภาษาไทยนั้น อาจมีความหมายได้หลายอย่าง และความหมายที่ต่างกันนั้นมักมีความเกี่ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น คำว่า “ทับทิม” หนังสืออักขราภิธานศรับท์ของหมอบรัดเลย์ ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.2416 ให้ความหมายไว้ว่า...“พลอยแดง : เป็นชื่อต้นไม้อย่างหนึ่งดอกแดง ลูกกลมๆ กินดี : อนึ่งเป็นชื่อพลอยที่เขาทำหัวแหวนสีแดงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    นอนไม่พอ...ระวังเป็นอัมพาตการนอนไม่เพียงพอสามารถบั่นทอนสุขภาพนั้นเป็นที่กล่าวขวัญกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนมีคำพังเพยของชาวจีนแต้จิ๋วว่า การบั่นทอนสุขภาพ อันดับแรก คือ การมีกามกิจมากเกินควร อันดับสอง คือ การเล่นพนันตลอดคืน อันดับสาม คือ การเฝ้าดูงิ้วข้ามคืนจะเห็นได้ว่าทั้ง 3 อันดับ ล้วนเกี่ยวข้องกับการนอนไม่เพียงพอในเวลากลางคืน ขณะที่กลางวันคาดว่าคงไม่ได้พักผ่อนเช่นเดียวกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    กาแฟ : ความขมที่ชาวโลกนิยมในบรรดาเครื่องดื่มทั้งหลายที่ชาวโลกปัจจุบันนิยมดื่มกันนั้น กาแฟนับได้ว่าเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้นิยมมากที่สุด ผู้เขียนเชื่อว่าผู้อ่านคอลัมน์นี้ทุกท่านคงรู้จักกาแฟที่เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่งเป็นอย่างดี และหลายท่านอาจดื่มกาแฟอยู่เป็นประจำ แต่คงจะมีไม่กี่คนที่เคยเห็นกาแฟที่เป็นต้นไม้ชนิดหนึ่ง หรือสนใจศึกษาถึงประวัติความเป็นมาด้านต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    งิ้ว : ต้นไม้แห่งกามภูมิหนังสือไตรภูมิกถาหรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า ไตรภูมิพระร่วงนั้น เชื่อกันว่า นิพนธ์ขึ้นโดยพญาลิไท แห่งกรุงสุโขทัยเมื่อกว่า 600 ปีมาแล้ว เนื้อหาใจความหลักของไตรภูมิกถากล่าวถึงภูมิทั้งสาม (ไตรภูมิ) คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งในแต่ละภูมิดังกล่าวยังประกอบด้วยภูมิย่อยๆ อีกหลายภูมิ กล่าวคือ กามภูมิมี 11 ภูมิย่อย รูปภูมิมี 16 ภูมิย่อย และอรูปภูมิมี 4 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    มะขาม : ต้นไม้ประจำครัวไทย“อะไรเอ่ย ต้นเท่าลำเรือ ใบห่อเกลือไม่มิด”คำทายสำหรับเด็กข้อนี้ อาจจะยากสำหรับเด็กในเมือง แต่นับว่าง่ายมากสำหรับเด็กในชนบท เพราะแม้บางคนจะนึกคำตอบไม่ออก ผู้ทายก็จะบอกใบ้ให้ว่า “หาได้ในครัว” เท่านี้ทุกคนก็จะตอบได้ เนื่องจากในครัวของคนไทยย่อมมีส่วนหนึ่งของต้นไม้ชนิดนี้อยู่เสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    มะม่วง : ไม้ผลยอดนิยมของคนไทย* หมากม่วงพวงพรวนย้อย พิมเสนห้อยสอยมากินสุกห่ามตามใจถวิล เอาตะกร้อซอเกี่ยวลง ฯ* ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    ตาลโตนด : ตัวแทนความหวานและความสูงวัดเอยวัดโบสถ์ มีต้นโตนดอยู่เจ็ดต้นเจ้าขุนทองไปปล้นป่านฉะนี้ไม่เห็นมาคดข้าวออกใส่ห่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    ตื่น-นอน วงจรชีวิตที่สมดุลสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นสัตว์น้ำ สัตว์บก สัตว์ปีก ล้วนมีช่วงเวลาของแต่ละวันที่อยู่ในภาวะตื่น และบางช่วงเวลาอยู่ในภาวะนอน ทั้งนี้สัตว์แต่ละชนิดย่อมแตกต่างกันทั้งเวลาตื่นและนอน สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางวัน รวมทั้งนกและมนุษย์ แต่สัตว์บกบางชนิดโดยเฉพาะสัตว์ป่าจำพวกเสือ สิงโต รวมทั้งแมว หนู มักจะออกหากินในเวลากลางคืน สัตว์เหล่านี้จึงมักนอนในเวลากลางวัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    สะเดา ความขมที่เป็นยา“หวานเป็นลม ขมเป็นยา” คำพังเพยเก่าแก่ของชาวไทยประโยคนี้ แสดงถึงความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติด้านยารักษาโรคของสิ่งที่มีรสขมเช่นสมุนไพรต่างๆ คำพังเพยประโยคนี้เปรียบเทียบคำพูดหรือคนที่พูดไพเราะอ่อนหวานว่า อาจจะเป็นพิษภัยเหมือนกับลม ซึ่งเชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ ในขณะที่คำพูดหรือคนที่พูดไม่ไพเราะนั้น มักจะมีประโยชน์เหมือนกับยา ...