การรักษาเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 92 ธันวาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการปวดท้องอาการปวดท้องเป็นอาการที่พบบ่อยอาการหนึ่ง อาจเป็นอาการที่ก่อกวนให้รำคาญ แต่ไม่มีอันตรายอะไรเลย เช่น อาการปวดประจำเดือน (ปวดระดู) ส่วนใหญ่ อาการปอดจากลมในท้องมาก (พอเรอหรือผายลมแล้วก็ดีขึ้น) ไปจนถึงอาการปวดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต เช่น อาการปวดจากกระเพาะลำไส้เป็นแผลทะลุ หรือจากท้องนอกมดลูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    แผลร้ายใต้ลิ้น ภาพนี้แสดงถึงแผลเรื้อรังเป็นเดือนๆ ลักษณะคล้ายดอกกะหล่ำที่ใต้ลิ้นด้านซ้ายของคนไข้โดยไม่รู้สึกเจ็บปวดแต่อย่างไร แผลจะค่อยๆลุกลามออกไปเรื่อยๆ ลักษณะเช่นนี้ก็เดาได้ไม่ยากว่า ไม่ใช่แผลธรรมดาๆเป็นแน่ถูกแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    ซีเอ / แคนเซอร์ / คาร์ซิโนมา“คนไข้มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักลดฮวบฮาบ มักมีสาเหตุจากอะไร?” อาจารย์ไล่ภูมินักศึกษาแพทย์“ทีบีค่ะ” นักศึกษาคนที่ 1 ตอบ“โรคคอพอกเป็นพิษครับ” คนที่ 2 ต่อ“ซีเอของตับครับ” คนที่ 3 ต่อ“เบาหวานค่ะ” คนที่ 4 ต่อถ้าจะไล่ไปเรื่อยๆคงมีสาเหตุนับสิบๆชนิด ข้างบนนี้มีภาษาหมอที่ไม่ใช่คำไทยๆอยู่ 2 คำ ได้แก่ ทีบี และ ซีเอทีบี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    สุนัขกัดบ้านเราเป็นเมืองพุทธ จึงปรากฏว่าทุกวันนี้มีสุนัขแล้วแมวทั้งที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของเป็นส่วนมาก และยังมีประชาชนอีกจำนวนไม่น้อยที่ทราบว่า แมวก็เป็นโรค “พิษสุนัขบ้า”โรคพิษสุนัขบ้า เรือเรียกง่ายๆว่า โรคหมาบ้านั้น ความจริงแล้วยังมีสัตว์ที่เป็นโรคเดียวกันได้อีก คือ กระรอก กระแต และค้างคาว สำหรับกระรอกและกระแตมีผู้นิยมเลี้ยงกันมากขึ้น เนื่องจากมีความน่ารัก เลี้ยงง่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)คนไข้เจ็บอกที่มีอาการเจ็บหนักหรือฉุกเฉิน เมื่อได้รับการปฐมพยาบาลและการรักษาขั้นต้นจนอาการดีขึ้นพอที่จะเคลื่อนย้ายคนไข้ไปที่โรงพยาบาลแล้ว ควรจะรีบส่งคนไข้ไปโรงพยาบาลสำหรับคนไข้ที่มีอาการเจ็บ ปวด แสบ แน่น หรืออื่นๆ ที่บริเวณอก แต่ไม่มีอาการเจ็บหนัก หรือฉุกเฉิน อาจจะให้การตรวจรักษาเป็นขั้นตอน ตามแผนภูมิที่ 1 คือให้ถามคนไข้ว่า อาการเจ็บอกนั้น กดเจ็บไหม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    การดูแลเด็กออกผื่น“เด็กออกผื่น” หมายถึง เด็กที่ป่วยเป็นไข้และมีผื่นขึ้น ซึ่งมีอยู่หลายโรคด้วยกัน เช่น ส่าไข้ อีสุกอีใส หัด หัดเยอรมัน และไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งผื่นของโรคที่กล่าวมาแต่ละอย่างมีลักษณะแตกต่างกันในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการดูแลเด็กออกผื่นของอีสุกอีใสและหัดเท่านั้น เนื่องจากผื่นที่ปรากฏมีระยะเวลาที่เป็นอยู่นานวัน และยังมีความสัมพันธ์กับการเบื่ออาหารและเจ็บคอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    พรายย้ำ จ้ำเขียวคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เข้ามาเกี่ยวข้องกับเรื่องผีๆเสียแล้วครับในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเขาอธิบายศัพท์ พราย หมายถึง “ผีจำพวกหนึ่ง” (มักกล่าวกันว่าเป็นผีผู้หญิงและเด็กที่ตายท้องกลม)และอธิบาย พรายย้ำ ว่าหมายถึง รอยดำๆ คล้ายถูกอะไรกัดเป็นรอยช้ำ ปรากฏตามร่างกายเป็นแห่งๆ แต่ไม่มีอาการเจ็บปวดอย่างไร โบราณถือว่าถูกผีพรายกัดย้ำเอา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บคอ ปวดคอ (ต่อ)ฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงอาการเจ็บในคอหอยที่ไม่ฉุกเฉินหรือเจ็บหนัก และไม่จำเป็นต้องไปโรงพยาบาล ซึ่งจะลองรักษาดูก่อนก็ได้ในฉบับนี้จะพูดถึงอาการเจ็บคอภายนอก (เจ็บคอภายนอก) ที่ไม่มีอาการเจ็บหนักหรือฉุกเฉิน (ลักษณะของคนไข้ฉุกเฉิน หรือมีอาการหนักให้ดูใน หมอชาวบ้าน ฉบับที่ 64) ก็อาจจะแยกออกเป็น 2 ประเภท คล้ายกับอาการเจ็บคอภายใน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 86 มิถุนายน 2529
    การทำแผล (ตอนที่ 2 อุปกรณ์และยาใส่แผล )การบาดเจ็บที่ทำให้เกิด “บาดแผล” มีอยู่ได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะถ้าครอบครัวใดมีเด็ก จะพบบาดแผลที่เกิดจากการกระแทก การพลัดตกหกล้ม และการบาดของของมีคมได้บ่อยที่สุดดังนั้นทุกครอบครัวควรมีอุปกรณ์และยาใส่แผลติดไว้ตามความจำเป็น ซึ่งอุปกรณ์และยาเหล่านี้หาซื้อได้จากร้านขายยา หรือร้านค้าที่ขายยาขององค์การเภสัชกรรม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 86 มิถุนายน 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บคอ ปวดคอ (ต่อ)ในฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงอาการเจ็บในคอหอยที่ไม่ฉุกเฉินหรือเจ็บหนักแต่ควรไปโรงพยาบาล และในฉบับนี้จะได้กล่าวถึงอาการเจ็บในคอหอยที่ไม่ฉุกเฉินหรือเจ็บหนัก และไม่จำเป็นต้องไปโรงพยาบาล (ดังอาการเจ็บคอที่กล่าวไว้ในฉบับก่อนๆ) อาจจะลองรักษาเองก่อนได้ โดย 1. ดูจากประวัติ (อ่านเพิ่มเติมจากมาเป็นหมอกันเถิด ในหมอชาวบ้าน ฉบับที่ 84)1.1 ถ้ากลืนอาหาร น้ำ หรือน้ำลายแล้วเจ็บ ...