การตั้งครรภ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ปัญญาอ่อน – ดาวน์ซินโดรม(โรคที่เกิดจากมีแถบพันธุกรรมเกิน)“หมอรู้สึกเสียใจที่ตรวจพบว่าลูกชายของคุณเป็นโรคปัญญาอ่อน”ทารกน้อยหลังคลอดไม่ถึงเดือนหน้าตาแปลก ค่อนข้างนิ่งเฉย ไม่งอแง ดูเหมือนเด็กเลี้ยงง่าย คุณพ่อคุณแม่รู้สึกแปลกใจว่าผิดแผกจากเด็กอื่น จึงพามาปรึกษาหมอ“สายเลือดเราไม่มีใครเป็นโรคปัญญาอ่อนกันเลย ไม่อยากเชื่อว่าลูกของเราจะเป็นโรคนี้...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    กรรมพันธุ์ - สายเลือด“คุณหมอครับ ลูกสาวผมเป็นโรคอะไรกันแน่ครับ เมื่อวานแม่เลี้ยงเขามาพบคุณหมอฟังคุณหมออธิบายเกี่ยวกับโรคที่ลูกสาวผมเป็น กลับไปบ้านโกรธผมมาก หาว่าเมื่อก่อนนี้ผมคงเที่ยวเก่งจนเลือดไม่ดี ติดให้ลูก ตอนนี้ภรรยาใหม่คนนี้ของผมกำลังตั้งครรภ์ ก็เป็นห่วงว่าจะได้เลือดไม่ดีจากผมอีก...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    การอยู่ไฟหลังคลอดคำว่า “อยู่ไฟ” นี้ดูเหมือนจะเป็นคำที่รู้จักคุ้นเคยกันดีในหมู่ผู้ที่เป็นแม่สูงวัยทั้งหลาย แต่อาจจะเป็นเรื่องล้าสมัยหรือคร่ำครึในทัศนะของคนหนุ่มสาว หรือแม้กระทั่งในหมู่บุคลากรสาธารณสุขการอยู่ไฟ เป็นการปฏิบัติของมารดาหลังการคลอดบุตรที่ถือปฏิบัติตัวกันมาหลายร้อยปีแล้ว โดยหญิงหลังคลอดจะต้องนอนผิงไฟตลอดเวลาบนกระดานไม้แผ่นเดียว อาบน้ำร้อน และดื่มเฉพาะน้ำร้อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    การตั้งครรภ์กับฟันผุก่อนที่จะถึงเดือนแห่งวันแม่ คือ เดือนสิงหาคม เราน่าจะมาคุยเรื่องก่อนที่จะเป็นแม่ คือ ภาวะการตั้งครรภ์กันดีกว่า บรรดาคุณผู้ชายก็อ่านได้นะคะ อย่างน้อยก็เก็บไว้เป็นความรู้รอบตัวเผื่อจะมีใครมาปรึกษา เป็นที่พูดกันมานานแล้วว่า ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ลูก1 คน จะต้องเสียฟัน (อย่างน้อย)1 ซี่ เพราะเชื่อว่าทารกในครรภ์จะนำเอาแคลเซียมจากฟันแม่ไปใช้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    สิทธิการลาคลอด90 วัน ขณะนี้ปัญหาเกี่ยวกับแรงงานหญิงที่ทุกคนให้ความสนใจเป็นพิเศษ ก็คือ เรื่องสิทธิการลาคลอด90 วัน ซึ่งแต่เดิมนั้นลาได้30 วัน และได้รับค่าจ้างครบตามจำนวน แต่ทางรัฐวิสาหกิจเดิมมีสิทธิลาคลอดได้ถึง60 วัน ซึ่งทางภาคเอกชนก็ควรมีสิทธิลาคลอดได้ในเวลาที่เท่ากันปัญหานี้เริ่มดึงความสนใจต่อแรงงานหญิงเมื่อ2 ปีที่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อนหลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นในโลก บางครั้งผลของมันที่ออกมาก็ดูเหมือนง่ายดาย แต่แท้จริงแล้วกระบวนการเกิดของมันซับซ้อนยุ่งยาก เช่นเดียวกับกลไกการเกิดมนุษย์ที่ได้เคยกล่าวไว้บ้างแล้วในตอนก่อนๆ ท่านผู้อ่านบางท่านอาจจะนึกสงสัยอยู่ครามควัน เอ๊! เมื่อไหร่จะคลอดเสียทีนะ เดี๋ยวค่ะ...ใจเย็นๆ อดใจรออีกสักนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)8วันนี่ก็ปาเข้าไปตั้งวันที่8 ของการเกิดปฏิสนธิแล้ว อะไรๆ ในมดลูกก็เปลี่ยนแปลงไปมากโขทีเดียว ถึงตอนนี้ตัวอ่อนบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) หาที่ซุกตัวเพื่อรอการเจริญเติบโตต่อไปได้แล้ว และเพื่อให้การยึดเกาะแหล่งพำนักพักพิงในมดลูกเป็นไปได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 4)การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)2 วันภายหลังจากที่อสุจิได้เข้าผสมกับไข่ และเซลล์ได้เริ่มมีการแบ่งตัวแบบทวีคูณ เมื่อเวลาแห่งการปฏิสนธิได้ก้าวล่วงเข้าสู่วันที่ 2 ไข่ได้แบ่งตัวออกถึง 8 เซลล์ (จากภาพที่เห็นเป็น 4 ฟอง) และกระบวนการเช่นนี้จะยังคงดำเนินต่อไปตลอดการเดินทางจากรังไข่เพื่อเข้าสู่มดลูกโดยใช้เวลา 3 วัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ความเข้าใจผิดของสตรีมีครรภ์และหลังคลอด1. การฝากครรภ์ควรมาฝากเมื่อตั้งครรภ์ได้ 4-5 เดือน หรือเมื่อรู้สึกว่าเด็กดิ้นที่ถูกต้องคือ การฝากครรภ์นั้นควรทำให้เร็วที่สุดเมื่อแน่ใจว่าตั้งครรภ์แล้ว เพื่อแพทย์จะได้ตรวจสุขภาพว่ามีโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายจากการตั้งครรภ์ หรือเป็นอุปสรรคต่อการตั้งครรภ์หรือไม่ หากมีจะได้รักษาแต่เนิ่นๆ การฝากครรภ์นั้นอาจไปฝากที่โรงพยาบาล สถานีอนามัย หรือคลินิกก็ได้2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    ปัญหาโรคเลือดจางในหญิงมีครรภ์สาเหตุการตายของมารดาและทารก สามารถป้องกันและแก้ไขได้ ถ้ามารดาให้ความสนใจและมาฝากครรภ์กับเจ้าหน้าที่ตามสถานบริการสาธารณสุขนายมารุต บุนนาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขชี้แจงว่า งานพัฒนาคนเป็นสิ่งที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ คือ งานอนามัยแม่และเด็ก เนื่องจากยังมีอัตราตายของมารดาและทารกจากการคลอดสูง โดยมีอัตราตายของมารดาประมาณ 0.3 ราย ต่อการคลอด 1,000 ราย ...