โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    เล็บขบคนเราใช้เล็บเพื่อการหยิบอะไรทีละน้อยๆ และเพื่อป้องกันอันตรายนอกจากนี้นิ้วจะมีเล็บไว้ป้องกันโรคและเป็นส่วนหนึ่งของผิวหนัง จึงถือได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการเจริญเติบโต เล็บจึงยาวออกมาได้ เมื่อมีโรคเกิดกับเล็บจะไม่รู้สึกเจ็บปวด เพราะเล็บไม่มีเส้นประสาท นอกจากเป็นอันตรายต่อผิวหนังข้างเคียงโรคที่เกิดกับเล็บได้บ่อยและชาวบ้านเป็นกันมาก คือ เล็บขบ จึงขอเชิญฟังคำอธิบายของ นพ.สมเกียรติ ธาตรีธร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    การควบคุมการเคลื่อนไหวนักกีฬาที่เกิดอุบัติเหตุในการเล่นกีฬา จนกระดูกหักและต้องได้รับการผ่าตัดหรือเข้าเฝือก มักพบว่า หลังจากผ่าตัดใหม่ๆ หรือเข้าเฝือกแล้ว อาจเคลื่อนไหวส่วนนั้นไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวด้วยความลำบาก ทั้งๆ ที่กระดูกก็ต่อกันดีแล้ว กล้ามเนื้อไม่ได้สูญเสียไป และข้อต่อก็ไม่ได้ติดขัดเลยบางครั้งอาจพบว่า ความรู้สึกบนผิวหนังก็เสียไปด้วย สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากอาจมีเส้นประสาทเล็กๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 กรกฎาคม 2528
    การเคลื่อนไหวของข้อครั้งที่แล้วได้กล่าวถึงความหมายของข้อต่อ และการเคลื่อนไหวของข้อต่อต่างๆ เช่น ข้อไหล่ ข้อศอก ต่อไปนี้จะว่าถึงข้อต่ออื่นๆ ต่อไปข้อมือเป็นข้อที่เคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง คือ งอและเหยียด เอียงเข้าและเอียงออก และหมุนเป็นวงกลมการหวายมือและคว่ำมือ เป็นข้อต่อที่บริเวณข้อมือ ข้อศอก และระหว่างกระดูกแขนด้านนอกและด้านในข้อมือ เป็นข้อที่บาดเจ็บได้ง่ายในกีฬาที่ต้องใช้มือจับไม้ตี เช่น ปิงปอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 75 กรกฎาคม 2528
    เส้นประสาทระบบประสาทประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนแรกเป็นศูนย์บัญชาการ ได้แก่ สมองและไขสันหลัง ส่วนหลังเป็นเส้นประสาทที่แผ่คลุมไปถึงส่วนต่างๆ ของร่างกาย เปรียบเสมือนเครือข่ายแห่งการสื่อสารไขสันหลังเป็นส่วนที่อยู่ต่อออกมาจากสมองส่วนท้าย ไขสันหลังเชื่อมต่อเป็นเนื้อเดียวกัน ทอดยาวลงไปในรูของกระดูกสันหลัง แต่ละข้อของกระดูกสันหลังมีเส้นประสาทแยกออกไปยังแขนขา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    เข่าเสื่อมตื่นแต่เช้า ออกกำลังกายให้สดชื่น พร้อมเปิดวิทยุ (เมดอินไทยแลนด์) ไปที่คลื่น 864 กิโลเฮิรตซ์ สถานี ปชส. 7 รายการ” สุขภาพประจำวัน” เวลา 5.00 น.-5.15 น. ทุกวันจันทร์ถึงเสาร์และรายการ “หมอชาวบ้าน” เวลา 4.30 น.-5.00 น.ปวดเข่าเป็นอาการของโรคที่เกิดขึ้นกับเนื้อเยื่อต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นข้อเข่า ปวดเข่ามักเกิดกับคนสูงอายุ แต่เด็กๆ หรือหนุ่มสาวก็เป็นได้ เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    การช่วยเหลือเด็กชักการชักในเด็ก โดยเฉพาะเด็กอายุตํ่ากว่า 3 ปี มักมีสาเหตุมาจาก “ไข้สูง” ดังนั้นการเช็คตัวเพื่อลดไข้ควรจะได้กระทำทุกครั้ง เพื่อป้องกัน “การชัก” ชั่วระยะเวลาที่เด็กมีอาการชัก สมองจะขาดออกซิเจน ดังนั้น เด็กที่มีอาการชักบ่อย หรือการชักแต่ละครั้งใช้เวลานาน อาจทำให้เด็กพิการสติปัญญาเสื่อม การเจริญเติบโตช้า หรือได้รับบาดเจ็บถ้ามีการตกจากที่สูง เวลาชัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    การเคลื่อนไหวของข้อต่อในการแข่งขันบาสเกตบอลครั้งหนึ่ง ขณะที่นักกีฬากำลังโดดขึ้นตีลูกบอลฝ่ายตรงข้ามคนหนึ่งวิ่งมาฉุดแขนของนักกีฬาอีกข้างหนึ่ง (ที่ห้อยอยู่ข้างๆ) ผลก็คือ แรงพุ่งขึ้นของนักกีฬาผู้นั้นทำให้ข้อไหล่หลุดออก และถึงที่แม้จะทำการรักษาให้เข้าที่เหมือนเดิม นักกีฬาผู้นั้นก็ใช้แขนไม่ได้ดีเท่าที่ควร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ในปัจจุบัน โลกทั้งโลกได้หมุนไปตามทิศทางแห่ง“ สุขภาพดีทั่วหน้าภายในปี 2543” ได้เกิดความตื่นตัวและการเคลื่อนไหวในวงการแพทย์และสาธารณสุขใหม่ๆ ผู้เขียนขอทำหน้าที่คอยนำเอาเรื่องราวเหล่านั้นมาเล่าสู่กันฟัง และยินดีรับฟังความคิดเห็นและข้อเท็จจริงจากผู้อ่าน มีข้อเสนอแนะประการใด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    คุณเคยสงสัยบ้างไหมว่า ในขณะที่เรากำลังเดิน วิ่ง ถีบจักรยานว่ายน้ำ ร่างกายของเราทำอย่างไรจึงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้โดยมีท่วงท่าที่คล่องแคล่วไม่เคอะเขินสะดุด การเคลื่อนไหวของคนเราต้องการการทำงานร่วมกันของอวัยวะในร่างกายหลายอย่างคือกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่ทำหน้าที่ของมันอย่างประสานและต่อเนื่อง ยิ่งเป็นนักกีฬายิมนาสติกที่กระโดดตีลังกาได้กลางอากาศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    ใช้วัตถุอะไรในการยึดตรึงกระดูกเนื่องจากร่างกายของคนเรามีคุณสมบัติในการขับและต่อต้านสิ่งแปลกปลอมทั่วไปที่ไม่ใช่ส่วนประกอบของตนเอง ดังนั้น เครื่องยึดตรึงกระดูกที่ใส่เข้าไปในร่างกาย จึงต้องเป็นวัสดุที่ร่างกายยอมรับและไม่เกิดปฏิกิริยาขับไล่ วัตถุพวกนี้ส่วนมากจะเป็นโลหะผสม เช่น ประกอบด้วย โครเมี่ยม โคบอล์ท และ มาลิบดีนั่ม เป็นต้นนอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว ...