โรคผิวหนัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 กรกฎาคม 2538
    ผิวแก่แดดสังขารร่างกายของคนเราย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามอายุที่มากขึ้น เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนโตเต็มที่เมื่ออายุประมาณ 25 ปี จะถึงจุดที่สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมลง คำกล่าวที่ว่า “ความเป็นหนุ่มสาวขึ้นอยู่ที่ใจ ส่วนอายุเป็นเพียงตัวเลข” นั้น คงจะหมายถึงหนุ่มสาวในความรู้สึกนึกคิด ไม่ได้หมายถึงสภาพร่างกาย เพราะในความเป็นจริงแล้วสภาพร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปตามอายุที่เพิ่มขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    เกลื้อนข้อน่ารู้1. เกลื้อน (Tinea versicolor) เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยโรคหนึ่งในคนหนุ่มสาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มคนที่มีเหงื่อออกมาก เช่น ผู้ใช้แรงงาน (ชาวไร่ ชาวนา กรรมกร) พนักงานขับรถ นักกีฬา รวมทั้งผู้ที่ทำงานกลางแดดสาเหตุเกิดจากเชื้อรากลุ่มมาลาสซีเซียเฟอร์เฟอร์ ซึ่งเป็นเชื้อราที่มีอยู่ตามผิวหนัง(โดยเฉพาะที่หนังศีรษะ)เป็นปกติวิสัยอยู่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    กลาก – โรคเชื้อราของผิวหนังข้อน่ารู้1. โรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อรามีอยู่หลายชนิด ซึ่งมีสาเหตุและอาการต่างกัน ที่พบบ่อยได้แก่ กลากและเกลื้อน2. กลาก (ring worm หรือ tinea) เกิดจากเชื้อรากลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ ซึ่งชอบเจริญอยู่เฉพาะในผิวหนังชั้นนอกสุด รวมทั้งเส้นผมและเล็บ โรคนี้สามารถติดต่อได้ง่าย (ตรงข้ามกับเกลื้อนซึ่งติดต่อยาก) โดยการสัมผัสกับคนไข้โดยตรง หรือใช้ของร่วมกับคนไข้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 พฤษภาคม 2537
    การตรวจรักษาอาการ “บวม” (ตอนที่ 2)ตอนที่แล้วได้กล่าวถึงอาการบวมประเภทกดบุ๋มว่ามี4 สาเหตุ คือ1.1หลอดเลือดดำตีบตัน (venous obstruction) พบบ่อยที่ขา1.2การแพ้ (allergy หรือ hypersensitivity) จะเป็นที่ส่วนใดของร่างกายก็ได้1.3การอักเสบจากสาเหตุอื่นๆ นอกจากการแพ้ (non-allergic inflammation) ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากภยันตราย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ตีนโทะเห็นชื่อเรื่องแล้วผู้มิใช่ชาวปักษ์ใต้ขนานแท้และดั่งเดิมคงจะพิศวงสงสัยว่านี่มันอะไรกันแน่ ถึงชาวปักษ์ใต้ก็เถอะ หากเข้ามาอยู่ในกรุงเสียนานจนแหลงภาษาบ้านเราไม่ถนัดก็จะลืมเลือนคำนี้ไปบ้าง ค่าที่เรื่องราวหรืออาการ “ตีนโทะ" ตอนนี้มีน้อยลง มิได้พบกันหนาหูหนาตาเช่นแต่ก่อน แต่อันที่จริงแล้วก็ยังมิได้หมดไปทีเดียวผู้เขียนเองก็มิใช่นักภาษาศาสตร์จึงไม่ทราบที่มาของศัพท์นี้อย่างแน่ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    เส้นผมและขนเส้นผมและขนร่างกายเกิดขึ้นในชั้นหนังกำพร้า ซึ่งเป็นชั้นบนสุดของผิวหนัง การที่ธรรมชาติสร้างเส้นผม (ขน) มาให้นั้น นอกจากเพิ่มความสวยงามความหล่อแล้ว เส้นผม (ขน) ยังช่วยให้ความอบอุ่น โดยเฉพาะในสัตว์ที่มีขนยาว และลดการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายมากจนเกินไป อีกทั้งยังช่วยปกป้องผิวหนังจากแสงแดดได้ด้วยปัญหาของเส้นผมที่มักจะสร้างความวิตกกังวลใจให้แก่คนเราก็มีตั้งแต่ปัญหาเล็กๆ เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    ส่าไข้ข้อน่ารู้1. ส่าไข้ เป็นไข้ออกผื่นชนิดหนึ่งที่พบในทารกวัย 6 เดือนถึง3 ขวบ ไม่พบในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ติดต่อโดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน ระยะฟักตัวของโรคประมาณ7-17 วัน เมื่อเป็นแล้ว มักจะไม่เป็นซ้ำอีก โรคนี้ฝรั่งเรียกว่า “reseolar infantum” แปลว่า “ไข้ผื่นกุหลาบในทารก” คนไทยเรียกว่า “ล่าไข้” บางครั้งก็เรียกว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    ลมพิษข้อน่ารู้1. ลมพิษ (urticaria) ถือเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการสร้างสารแพ้ดังที่เรียกว่า “ฮิสตามีน” (histamine) ออกมาจากเซลล์ในชั้นใต้ผิวหนัง ทำให้หลอดเลือดฝอยขยายตัว เกิดเป็นผื่นนูนแดงและคันขึ้นตามผิวกาย2. มักมีสาเหตุจากการแพ้อาหาร (เช่น อาหารทะเล เนื้อสัตว์ อาหารใส่สี อาหารกระป๋อง) แอลกอฮอล์ (เช่น เหล้า เบียร์) ยา (เช่น แอสไพริน เพนิซิลลิน ซัลฟา) ฝุ่น ละอองเกสร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    รากเหง้าปัญหาคนศีรษะล้าน...ผู้ชายเชิญอ่าน!บริเวณที่ศีรษะล้านจะอยู่ตรงที่เซลล์รากเส้นผมเชื่อมเกาะติดโปรตีนขนาดเล็ก ส่วนจะล้านเร็วหรือช้าโดยส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณของโปรตีนทั้งสองชนิดที่แต่ละคนได้รับถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ตามพันธุกรรมทุกๆ วันมีคุณผู้ชายจำนวนนับล้านคนเพ่งมองสำรวจตัวเองอยู่หน้ากระจกพลางรำพึงถาม...เหตุไฉนหนอผมของเรามันถึงได้หดหาย ร่วงบางลงไปทุกวันๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    งูสวัดเป็นรอบเอวแล้วตาย???ครั้งที่แล้วได้พูดถึงความเชื่อชาวบ้านเกี่ยวกับเรื่องของ “หัดหลบใน” ครั้งนี้มาว่ากันด้วยเรื่องของ “งูสวัด” ดีไหมครับมีอยู่บ่อยครั้งเมื่อหมอตรวจพบว่าเป็น “งูสวัด” คนไข้และญาติคนไข้จะถามหมออย่างหน้าตาตื่นว่า“คุณหมอครับ งูสวัดถ้าเป็นรอบเอวแล้วมักจะตายจริงไหมครับ?”หมอก็มักจะตอบว่า “ไม่จริงหรอก งูสวัดจะขึ้นข้างเดียว ...