การแพทย์ทางเลือก

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    หลับมากผิดปกติบ่อยครั้งที่เราจะพบคนบางคน นอนเก่งมากผิดปกติ เรียกว่า นั่งที่ไหน หลับที่นั่น ถ้าเป็นเพราะอดนอน หรือนอนหลับไม่พอ อาการง่วงอยากนอนก็ถือว่าเป็นปกติ ถ้าเจอคนกินอาหารอิ่ม โดยเฉพาะตอนเที่ยงๆ อาจจะมีอาการง่วงงาวหาวนอนได้บ้าง เพราะหนังท้องตึง หนังตาหย่อน (เลือดไปเลี้ยงที่ท้องมาก ทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงสมองน้อยลง สมองเลยไม่ค่อยสดใส ทำให้ง่วง) คือ เป็นภาวะปกติ คนที่ผิดปกติ ได้แก่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 297 มกราคม 2547
    โรคไซนัสอักเสบหลายคนมักเป็นไซนัสอักเสบบ่อยๆ ภายหลังอากาศเปลี่ยนแปลงโดยมีอาการโรคหวัดนำมาก่อน ในขณะที่หลายคนเป็นหวัดไม่กี่วันก็หาย หลายคนที่มีไซนัสอักเสบเรื้อรัง กินยาปฏิชีวนะมาหลายขนานอาการก็ไม่ดีขึ้น ถึงกับต้องเจาะดูดหนองและล้างโพรงจมูก บางรายที่มีการติดเชื้อลุกลาม รุนแรงเข้ากระบอกตาหรือเข้าสมองเกิดฝีในสมอง คนที่เป็นไซนัสเรื้อรังจำนวนมาก มักจะแสวงหาแพทย์ทางเลือก ตั้งแต่การพ่นยาเข้าในจมูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 297 มกราคม 2547
    ดัดตนแก้คอแก้ไหล่ปัจจุบันนี้ผู้คนมีอาการคอไหล่ตึงกันมาก ไม่เลือกว่าผู้ชายหรือผู้หญิง เด็กหรือผู้ใหญ่ และในวัยทำงาน ตั้งแต่คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการใช้งานมากขึ้น ผู้ที่หมกมุ่นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้สายตาและ มือมากก็ทำให้มีอาการตึงคอ บ่า และไหล่มากขึ้นตามลำดับการใช้มากหรือน้อย ผมเรียกโรคนี้ว่าโรคคอมพิวเตอร์ ก็คงไม่ผิด เพราะคนที่เข้ามานวดที่คลินิกของผม บางคนจะให้นวดเฉพาะ คอ บ่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ดัดตนแก้ลมต้นขา สันนิบาต และตามัวดวงตาเป็นอวัยวะที่สำคัญส่วนหนึ่งของร่างกาย ถ้าดวงตาไม่บอดตั้งแต่กำเนิดก็ควรจะดูแลรักษาไว้ไม่ให้มืดมัวได้ ถ้าไม่มีสิ่งผิดปกติกับดวงตาแล้ว คนเรามักจะไม่ค่อยสนใจเท่าไหร่ เหมือนผมเมื่ออายุยังน้อย เรียนอยู่ชั้นประถม ก. ซึ่งสมัยนี้ไม่มีแล้ว สมัยนั้นไม่มีไฟฟ้าใช้ ต้องจุดตะเกียงน้ำมันก๊าด พอเกิดสงครามญี่ปุ่น น้ำมันก๊าดแพงก็ใช้น้ำมันมะพร้าวหรือน้ำมันหมูแทน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ฉีดยาเข้าจุดฝังเข็มรักษาโรคพูดถึงการฉีดยา เรามักคุ้นเคยกับการฉีดยาที่ต้นแขน สะโพก การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำที่หลังมือ หรือแขน ยาที่ฉีดก็คิดถึงยาแผนปัจจุบัน ถ้ามีหมอเกิดเอายาฉีดที่เป็นสมุนไพร หรือยาแผนปัจจุบัน หรือบางครั้งเอาเลือดที่ดูดจากคนไข้คนเดียวกันฉีดเข้าไปในตัวคนไข้เอง ฉีดเข้าไปตำแหน่งอื่น เช่น ที่หน้าแข้ง หรือจุดต่างๆ ตัว แขน ขา ลำตัว ต้นคอ คงทำให้หลายคนแปลกใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    หยางเหว่ย : โรคมะเขือเผาในทรรศนะแพทย์แผนจีนมีทรรศนะการมองปัญหาโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย ที่เหมือนกันและแตกต่างกันหลายประการ ระหว่างแพทย์แผนจีนและแพทย์แผนตะวันตก แพทย์แผนปัจจุบันเรียก อี.ดี. (erectile dysfunction) หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวได้นานพอที่จะปฏิบัติกิจกรรมทางเพศได้สำเร็จ แพทย์แผนจีนเรียก หยางเหว่ย หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถตั้งตรง หรือตั้งตรงแต่ไม่แข็งตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    ดัดตนดำรงกายให้อายุยืนอายุวัณโณสุขังพลัง ทุกท่านที่ไปทำบุญแล้วจะได้รับศีลรับพรจากพระ ตอนสุดท้ายพระจะสวดให้พรว่าตามผมเขียนมาข้างต้นนี้ คำให้พรนี้ผมเคยได้ดูโทรทัศน์นานแล้ว เมื่อครั้งลูกศิษย์นักแสดงไปรดน้ำดำหัว ส.อาสนจินดา อาจารย์ ส. ได้บอกกับลูกศิษย์ว่าทุกคนจำเป็นต้องได้รับพร เพื่อให้มีกำลังใจที่ดีที่จะทำงานของตนเองและส่วนรวมต่อไป คำว่า อายุวัณโณ ผมอาจจะแปลผิดก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    ดัดตน แก้ลมจันฑฆาต,ลมเข่า,ลมขา,ลมหน้าอกท่าฤาษีดัดตนแบบประยุกต์ เข่า ขา หน้าอก การแพทย์แผนไทยจะมองร่างกายทั้งหมดไม่แยกชิ้นส่วนเหมือนแผนอื่นๆ การนวดให้กับตนเองหรือนวดให้ผู้อื่น หมอจะเน้นในการรักษาคนไม่ใช่รักษาโรคโดยตรง เมื่อสัปดาห์ที่แล้วมีผู้ที่ชอบพอกับผมโทรศัพท์มาหาผม บอกว่าปวดเข่ามาก และถามผมว่ามีท่าฤาษีดัดตนแก้ปวดเข่าไหม ผมบอกเขาว่าผมได้เขียนท่าดัดตนแก้ปวดเข่าลงในหนังสือนี้หลายครั้งแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    ยาอายุวัฒนะที่ต้องปรุงเอง : การทำงานกับการพักผ่อนยาอายุวัฒนะเพื่อการมีสุขภาพที่ดีและอายุยืนยาว เป็นสิ่งที่มนุษย์ในยุคต่างๆ แสวงหามาช้านานนับพันปี มีทั้งตำรับยา ความเชื่อในพิธีกรรม การกิน การดำเนินชีวิต การฝึกจิต เป็นต้น ซึ่งมีหลากหลายวิธีการ ในศาสตร์แพทย์จีนพูดถึงความสมดุลอย่างหนึ่งที่จะมีผลต่อการเกิดโรค การเสื่อมทรุดของร่างกายช้าหรือเร็ว คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 289 พฤษภาคม 2546
    ดัดตนแก้ปวดท้องแก้ข้อเท้า แก้ลมไส้และสันหลังกุมภาพันธ์ผันมาสู่ฤดูร้อน ทินกรเรืองแรงส่องแสงจ้า เป็นฤดูเกี่ยวข้าวของชาวนา ขนข้าวปลามาบ้านสำราญใจ พอย่างเข้าฤดูร้อนที่โรงเรียนวัดปากท่อจะให้นักเรียนร้องเพลงนี้ก่อนจะปล่อยกลับบ้านตอนเย็น สมัยยังเรียนอยู่ชั้น ก. ไก่ ประมาณกว่า ๖๐ ปี มาแล้ว ตามตำราแพทย์แผนไทยได้ จัดฤดูไว้ คือ ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ไปถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ...