อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    หญิงไทยเหยื่อเอดส์ (ตอนจบ)หญิงไทยซึ่งมีจำนวนถึงครึ่งหนึ่งของประชากรไทย และมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของบุตรหลานในครอบครัว และต่อความสัมพันธ์และทุกข์สุขของสมาชิก ในครอบครัวค่อนข้างมาก จึงน่าจะนำมาพิจารณากันว่าหญิงไทยควรมีบทบาทอย่างไรในปัจจุบันในการป้องกัน และลดผลกระทบจากโรคเอดส์ได้อย่างไรบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    7คำถาม น่ารู้กับอีโบล่า1. ที่มาของเชื้ออีโบล่าเชื้ออีโบล่าเป็นเชื้อไข้เลือดออกที่พบในทวีปแอฟริกา รู้จักเมื่อมีการระบาดครั้งแรกที่ประเทศซาอีร์ และซูดาน เมื่อปี พ.ศ.2519 สามารถแยกเชื้อและศึกษารายละเอียดได้ พบว่าเชื้อที่แยกได้ที่ประเทศซูดาน ทำให้เกิดโรคระบาดที่มีอัตราตายต่ำกว่าเชื้อที่ระบาดในประเทศซาอีร์เชื้อที่มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายเชื้ออีโบล่าจัดอยู่ในสกุลไฟโลไวรัสนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 1)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่า เป็นคำกริยา แปลว่า “ลูกโพลงแล้วดับไปทันที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    การพูดผิดปกติการพูดไม่ชัด เป็นการเปล่งเสียงพูดออกมาผิดเพี้ยนไปจากการพูดของคนปกติ ซึ่งเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนมากเรามักจะพบในวัยเด็ก ลักษณะของเสียงพูดไม่ชัด เช่นพูด “เฝือ” แทน “เสือ” ผิดเสียงพยัญชนะต้นพูด “กิง” แทน “กิน” ผิดเสียงตัวสะกดพูด “โม๊ะ” แทน “มด” ลดเสียงตัวสะกดพูด “กลินข้าว” แทน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    เล็บ บอกโรคการแพทย์จีนได้มีการบันทึกเรื่องเกี่ยวกับเล็บไว้มากมาย จากการรวบรวมและเฝ้าสังเกตศึกษาเป็นเวลายาวนาน ทำให้ทราบว่าเล็บเป็นสิ่งที่แสดงให้ทราบถึงความสมบูรณ์หรือผิดปกติของร่างกายภายในได้1. ตัวเล็บเป็นร่อง1.1 ถ้าผิวเล็บบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นร่องขวาง แสดงว่าผู้ที่มีเล็บดังกล่าวเคยได้รับผลกระทบทางด้านอารมณ์อย่างรุนแรง ก่อให้เกิดอาการขาดสารอาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    มนุษย์กับความหลากหลายทางชีวภาพ“พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์กำเนิดขึ้นมาในโลกจากกระบวนการตามธรรมชาติ โดยเหตุผลเช่นเดียวกันการก่อกำเนิดขึ้นของมนุษย์” ข้อความนี้คัดลอกมาจากบทความเรื่อง“สูญไปจากแผ่นดินสยามปัญหาพังทลายของทรัพยากรพันธุกรรมในประเทศไทย” นับว่าเป็นสัจธรรมที่ควรค่าแก่การเข้าใจอย่างยิ่งการที่มนุษย์พยายามคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติให้น้อยลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    ถนอมรักครอบครัว ถนอมรักลูกสิ่งที่มนุษย์รักที่สุดคือลูก ความรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูกเป็นความรักที่เป็นทิพย์ คือมีความบริสุทธิ์และมีค่าสูงส่งที่สุด ในสภาพที่มีวิกฤติการณ์ทางสังคมของโลก และมีความแตกกระจายทางสังคมและทางจิตใจ มนุษย์ต้องแสวงหาอะไรมาเป็นเครื่องสมานสิ่งที่แตก เนื่องจากสภาพแตกกระจายทางสังคมนั้นแรงมาก อะไรที่มาเป็นเครื่องสมานจะต้องมีพลังมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    อาหารปลอดสารพิษ มะม่วง : มะละกอช่วงนี้มะม่วงออกมาให้กินแข่งกับทุเรียน ชวนอ้วนไปตาม ๆ กัน ส่วนมะละกอนั้นก็มีอยู่คู่แผงขายผลไม้ตลอดทุกฤดูมะม่วงและมะละกอนั้นมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่มะม่วงมีสาระสำคัญน้อยกว่ามะละกอเล็กน้อย ซึ่งผลไม้ทั้งสองชนิดนี้มีเอนไซม์ชื่อ ปาเปน ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับน้ำย่อยเปปซินในกระเพาะอาหาร ดังนั้นจึงช่วยทำให้ของเสียที่เป็นโปรตีน แตกตัวได้เร็วขึ้น เช่นเดียวกับ โปรเมลิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    หญิงไทยเหยื่อเอดส์เมื่อเริ่มต้นมีการระบาดของโรคเอดส์ในโลกเมื่อ 14 ปีก่อน ผู้ชายถูกจัดเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์มากที่สุดจากพฤติกรรมรักร่วมเพศและการติดยาเสพติด ผู้หญิงอาจมีโอกาสติดเอดส์ได้เช่นกัน จากการมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ติดยาเสพติด แต่โอกาสติดน้อยกว่าชายมากเมื่อการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ปรากฏเด่นชัดขึ้นมา ในทวีปแอฟริกาในระยะเวลาต่อมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    บอน : ผักพื้นบ้านที่มากับความคัน“เหมือนน้ำกลิ้งบนใบบอน”ข้อความที่ยกมาข้างต้นมีเป็นสำนวนไทยโบราณ ใช้เปรียบเทียบกับสิ่งที่ไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงไปได้รวดเร็ว คล้ายหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน สำนวนนี้พ่อเพลงพื้นบ้านมักนำมาใช้โต้คารมกับแม่เพลงฝ่ายตรงข้าม โดยเปรียบว่า “น้ำใจหญิง เหมือนน้ำกลิ้งบนใบบอน” เป็นต้นการที่ชาวไทยในอดีตนำเอาลักษณะหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน ...