อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    การเมืองกับสุขภาพคนโดยทั่วไปมักจะคิดแบบแยกส่วนตายตัว เช่น การเมืองเป็นเรื่องของการเมือง สุขภาพก็เป็นเรื่องของสุขภาพ ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกัน หรือคิดว่าความยากจนกับการเมืองไม่เกี่ยวข้องกันสรรพสิ่งล้วนเกี่ยวข้องกันไม่มีอะไรไม่เกี่ยวข้องกัน จักรวาลทั้งจักรวาล โลกทั้งโลก มนุษย์ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง และสุขภาพ เกี่ยวข้องกันสุขภาพหมายถึง สุขภาวะทั้งทางกาย ทางจิต และทางสังคมอย่างเช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 กันยายน 2539
    ปวดท้อง (ตอนที่ 1)อาการปวดท้องอาจเป็นอาการปวด เจ็บ แสบ เสียด จุก แน่น หรือไม่สบายในท้องและท้องน้อย ถ้าเป็นมากอาจเสียวร้าวขึ้นมาที่ไหล่ไปด้านหลัง หรือลงไปบริเวณก้นได้คงไม่มีใครที่ไม่เคยปวดท้อง เพราะอาการปวดท้องเป็นอาการที่พบมากที่สุดอาการหนึ่ง แม้แต่หัวเราะมาก ๆ ก็ปวดท้องได้ ที่เรียกว่า “หัวเราะจนท้องคัดท้องแข็ง” ไอมาก ๆ ก็ปวดท้อง ออกกำลังก็ปวดท้องได้ เป็นต้นคนไข้รายที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    หอบเหนื่อย (ตอนจบอาการหอบเหนื่อยที่ไม่ฉุกเฉินสำหรับคนไข้ที่หอบเหนื่อยแต่ไม่ฉุกเฉิน เพราะไม่มีอาการต่างๆดังที่กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วก็ควรให้การดูแลรักษาขั้นแรกดังนี้1.ให้อยู่ในท่าที่คนไข้สบายที่สุด อาจเป็นท่านั่งพิง ท่านั่งก้มไปข้างหน้า (ฟุบกับโต๊ะ) หรืออื่นๆ2.ใช้พัด หรือพัดลมโบกเป่าให้คนไข้ 3.พูดให้กำลังใจ ให้คลายความกลัวและความเครียดความกังวลลง4.กำจัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 208 สิงหาคม 2539
    การแพทย์ฉุกเฉินแม้จะมีโรคในชื่อเป็นพันๆชื่อ แต่ปัญหาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ๑.ปัญหาฉุกเฉิน ๒.ปัญหาไม่ฉุกเฉินปัญหาทั้ง ๒ ประเภท มีหลักการดูแลที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง สำหรับปัญหาไม่ฉุกเฉินนั้น มีทางเลือกหลายทาง เช่น ปล่อยไว้ให้หายเอง ลองรักษาดูตามการวินิจฉัยขั้นต้น หรือวิเคราะห์ให้ละเอียดว่าเป็นอะไรแน่ส่วนปัญหาฉุกเฉินนั้นเป็นความเป็นความตายเฉพาะหน้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    ประชาสังคมกับสุขภาพเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาในการจัดประชุมวิชาการประจำปีของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข นายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ ได้ประสานงานให้มีการเตรียมเอกสาร และมีการนำเสนอเรื่อง “ประชาสังคมกับสุขภาพ” นายแพทย์ชูชัย ศุภวงศ์ เป็นผู้นำเสนอบทความ ส่วนเอกสารนั้นมี2 เล่ม ทั้งจากการสัมภาษณ์ และที่เป็นบทความ ผู้ใดสนใจอาจติดต่อได้ที่สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    ปัสสาวะทำมาจากไหนปัสสาวะคือน้ำเสียที่ร่างกายต้องการขจัดออกมาจากไต คนเรามีไต2 ข้าง วางอยู่ทางด้านหลังของช่องท้อง ข้างๆกระดูกสันหลัง มีซี่โครงซี่ล่างๆโอบล้อมอยู่ ไตแต่ละข้างยาวประมาณ 1o เซนติเมตร หนักประมาณ 14o กรัม มีรูปร่างคล้ายเม็ดถั่วที่มีส่วนโค้งข้างหนึ่งและส่วนเว้าข้างหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    เส้นลายมือหลัก (ตอนที่ 1)ในวิถีชีวิตของคนหลายคน กำหนดชะตาชีวิตของตนเองด้วยการยึดติดกับดวงดาว มีจำนวนไม่น้อยที่ดูชะตาชีวิตของตนเองจากเส้นลายมือในทัศนะการแพทย์จีนนั้น เส้นลายมือก็สามารถทำนายดวงชะตาได้เหมือนกัน แต่ไม่ใช่ดวงชะตาชีวิตหากแต่เป็นดวงชะตาของร่างกายภายในเรามาดูกันว่าเส้นลายมือนั้นบ่งบอกอะไรแก่เราได้บ้างในฝ่ามือของคนนั้นมีเส้นลายมือหลักๆ ซึ่งมีความยาว ความลึก ความกว้าง และทิศทาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 206 มิถุนายน 2539
    สุขภาพคือบรมธรรม“สุขภาพคือบรมธรรม” อาจจะฟังดูแปลก เราลองค่อยๆคุยกันดูโดยตั้งคำถามว่า อะไรคือธรรมะสูงสุดหรือบรมธรรมคำตอบก็อาจจะมีต่างๆกันชาวพุทธอาจจะตอบว่าคือ “นิพพาน”ผมขอตอบว่าคือ “การดำรงอยู่ร่วมกันอย่างได้ดุลยภาพระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม”ลองคิดดูให้นานๆเถิดครับ ถ้าบรมธรรมไม่ใช่สิ่งที่กล่าวข้างต้น มนุษย์จะเข้าไปสู่ความขัดแย้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 205 พฤษภาคม 2539
    วัฒนธรรมกับสุขภาพอาหารไทยในวันที่27 พฤษภาคม2539 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเปิดการประชุมนานาชาติเรื่อง “วัฒนธรรมกับสุขภาพ” ที่จังหวัดเชียงราย การประชุมนี้จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ สนับสนุนโดยองค์การ UNESCO และองค์การอนามัยโลก จะมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลายประเทศการแพทย์แผนปัจจุบันมีฐานอยู่ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งก็มีข้อดีหลายอย่าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 205 พฤษภาคม 2539
    พิษงูรักษาโรคหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ประจำวันที่12 กุมภาพันธ์2539 ลงบทความเกี่ยวกับสุขภาพ เขียนโดย ทอม เวลลส์ เล่าเรื่องนายบิล เฮสต์ อายุ85 ปีที่ปรากฏในรูปนั่นแหละครับกับงูของแก ความจริงผมเกือบจะเขียนว่า “เฒ่าเฮสต์” แต่พอเห็นรูปแกซึ่งก็ถ่ายตอนแกอายุ85 ปี แล้วเรียกไม่ออก เพราะแกดูหนุ่มกว่าผมเสียอีกตาเฮสต์แกชอบงูมาตั้งแต่เด็ก พออายุ7 ขวบก็เก็บงูมาเลี้ยง ...