อื่น ๆ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    “ไฟเตท” สารลดการดูดซึมแร่ธาตุในร่างกาย“ไฟเตท” เป็นชื่อขององค์ประกอบทางเคมีชนิดหนึ่งของพืช ซึ่งดึงมาจากใบและรากของพืชในระหว่างที่มีการเจริญเติบโตพบมากที่เมล็ดพืช โดยเฉพาะพืชในตระกูลถั่ว ธัญพืช และพืชที่ให้น้ำมันจะมีการสะสมไฟเตทมากเป็นพิเศษ เพราะเป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุต่างๆ รวมทั้งฟอสฟอรัสด้วย เพื่อจะนำแร่ธาตุเหล่านี้มาใช้ในการงอกของเมล็ด รวมทั้งการเจริญเติบโตของพืช ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    สิทธิของผู้ป่วย (patient’s rights)ความหมายของคำว่า “สิทธิ” และ “ผู้ป่วย”พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายของ “สิทธิ” ว่า “อำนาจอันชอบธรรม ความสำเร็จ” แต่ในความหมายที่เราใช้กันอยู่ทั่วไป “สิทธิ” หมายถึง “สิ่งพึงมีพึงได้” ตามธรรมชาติ ตามกฎหมาย ตามขนบธรรมเนียมประเพณี หรืออื่นๆสิทธิมนุษย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    อิมมูน–ภูมิคุ้มกัน (อีกครั้ง)เมื่อหลายฉบับก่อนได้กล่าวถึงความหมายของคำว่า “อิมมูน - ภูมิคุ้มกัน” และ “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน” รู้สึกว่ายังมีแง่มุมบางอย่างที่ยังไม่ได้กล่าวถึง จึงใคร่ขอเพิ่มเติมเพื่อให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า “อิมมูน” (immune) หรือ “อิมมูนิตี้” (immunity) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    อวัยวะเทียมณ คลินิกศัลยกรรมเสริมความงาม นวลอนงค์นางหนึ่งประมาณอายุว่าคงจะเลยเลข4 ไปแล้ว ได้เยื้องกรายเข้าไปปรากฏต่อหน้าแพทย์ที่รับปรึกษาปัญหาความงาม พร้อมกับพูดประโยคสั้นๆ แต่กินความหมายชัดเจนว่า “คุณหมอคะ ช่วย ‘ยกเครื่อง’ ทั้งตัวเลยนะคะ”ถ้าเป็นสมัยก่อนคุณหมอที่ทำศัลยกรรมอาจจะเกิดอาการงงเล็กน้อย ด้วยความสงสัยว่าคนอะไรจะหาความงามสักนิดไม่เจอเลยเชียวหรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันภูมิคุ้มกัน หรืออิมมูน มีบทบาทสำคัญต่อการเกิดโรค ถ้าภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอหรือแปรปรวน ก็ง่ายต่อการเกิดโรคติดเชื้อ (เช่น ไข้หวัด วัณโรคปอด) โรคมะเร็ง รวมทั้งโรคภูมิแพ้และโรคภูมิต้านทานตัวเอง (ออโตอิมมูน)ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภูมิคุ้มกันของร่างกายนั้นมีอยู่มากมาย ตัวอย่างที่รู้จักกันดี ก็คือ เจ้าเชื้อไวรัสเอชไอวี (เชื้อเอดส์) ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    อิมมูน – ภูมิคุ้มกันได้เขียนถึงเรื่องของ “โรคภูมิต้านตัวเอง” หรือ “ออโตอิมมูน” มา 2 ฉบับแล้ว ก็เลยขอถือโอกาสขยายความเกี่ยวกับคำว่า “อิมมูน” ต่อเลยดีไหมครับ มีอยู่บ่อยครั้งที่ผู้อ่านอาจรู้สึกงงงวยเมื่อเข้าไปในโรงพยาบาลแล้วเหลือบเห็นป้าย “แผนกอิมมูนวิทยา” หรืออ่านบทความทางการแพทย์พบกับประโยคว่า“โรคนี้สาเหตุเกิดจากอะไรไม่ทราบแน่ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้ก้าวหน้าไปมาก เช่น ทางด้านการสื่อสาร แต่ก่อนนี้คงไม่เชื่อว่าจะสามารถมีโทรศัพท์พกติดตัวไปไหนมาไหนได้สะดวกเช่นทุกวันนี้ แม้ขณะที่ชุมนุมประท้วงอยู่กลางถนนก็ยังสามารถพูดคุยกับคนที่บ้านได้ ทางด้านการแพทย์ก็เช่นกัน ถ้าเป็นสมัยก่อนมีใครมาบอกว่า แพทย์สามารถจะมองเห็นหรือส่งคลื่นเข้าไปตรวจอวัยวะภายในร่างกายได้ คนคงหัวเราะกันท้องคัดท้องแข็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะมนุษย์ส่วนใหญ่ต้องการความสุขสบาย ไม่อยากเจ็บไข้ได้ป่วย และถ้ายิ่งไม่ตายเลยได้ หลายคนก็คงจะดีใจไม่น้อย มนุษย์จึงพยายามคิดค้นหาวิธีที่จะฝืนกฎธรรมชาติด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อช่วยให้มวลมนุษยชาติมีชีวิตยืนยาวต่อไปได้ จนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้วงการแพทย์สมัยใหม่ได้ประกาศความสำเร็จอย่างหนึ่งของพวกเขาออกมา นั่นคือ เทคนิคการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ ซึ่งสามารถเปลี่ยนอวัยวะจากคนๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    ผู้หญิงพิทักษ์โลกในประเทศอินเดีย สตรีพื้นเมืองได้รวมตัวกันเป็นขบวนการที่เรียกกันว่า “ซิปโก้” ซึ่งเป็นขบวนการต่อต้านการทำลายป่าบริเวณเทือกเขาหิมาลัย สตรีพื้นเมืองเหล่านี้เป็นกระดูกสันหลังของชีวิตทางสังคมและเศรษฐกิจในพื้นที่แถบนั้น เพราะผู้ชายส่วนใหญ่มักจะลงไปหางานทำที่พื้นราบ ในขณะที่ผู้หญิงจะอยู่ในหมู่บ้าน การจัดการเองในบ้านจึงเป็นภาระของผู้หญิง ในปี 2517 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    บันทึกความทรงจำแห่งห้วงเวลาพฤษภามหาวิปโยคคงเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ในช่วงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมามีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้นในบ้านเมืองของเรา จนเป็นเหตุให้พี่น้องประชาชนคนไทยต้องเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก เพื่อเป็นการทบทวนเหตุการณ์อันน่าเศร้าสลดใจในครั้งนั้น ให้ท่านผู้อ่านที่มิได้อยู่ในเหตุการณ์ได้ทราบความเป็นจริง (บางส่วน) โดยหวังว่าเหตุการณ์เช่นนี้คงจะไม่เกิดขึ้นในบ้านเมืองของเราอีก ...