ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 85 พฤษภาคม 2529
    อาการเจ็บในคอหอยในฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงอาการเจ็บคอ-ปวดคอ และการตรวจรักษาในรายที่มีอาการฉุกเฉินหรือเจ็บหนักไปแล้ว ในฉบับนี้จะได้พูดถึงอาการเจ็บในคอหอยที่ไม่ฉุกเฉินอาการเจ็บในคอหอย คืออาการเจ็บข้างในคอทำให้เวลากลืนอาหาร กลืนน้ำ หรือกลืนน้ำลายแล้วรู้สึกเจ็บ ถ้าเป็นมาก อาจกลืนอาหารหรือกลืนน้ำไม่ได้เลยการตรวจรักษาอาการเจ็บในคอหอยที่ไม่มีอาการฉุกเฉินหรือเจ็บหนักแผนภูมิที่ 2 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    ฉบับที่แล้วได้พูดถึงอาการปวดนิ่วในท่อไต ว่าจะมีลักษณะปวดบิดเกร็งเป็นพักๆ ตรงแถบซ้ายหรือขวาของท้อง และปวดร้าวลงมาที่ลูกอัณฑะ (ในผู้ชาย) หรือช่องคลอด(ในผู้หญิง)และปวดร้าวไปที่หลังนิ่วในถุงน้ำดี ก็มีลักษณะปวดบิดเกร็งเป็นพักๆ ในลักษณะเดียวกันผิดกันตรงตำแหน่งที่ปวด คือนิ่วในถุงน้ำดีจะปวดตรงบริเวณใต้ชายโครงข้างขวา หรือบริเวณใต้ลิ้นปี่ซึ่งอาจปวดร้าวไปที่กลางหลัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    คงจำกันได้ถึงความรู้สึกเวลาคัน หงุดหงิด ลุกลี้ลุกลน ถ้าคันในที่เปิดเผย เกาสนุก ยิ่งเกายิ่งมัน ยิ่งมันยิ่งเกา แต่ถ้าคันในที่ลับจะเกาดูน่าเกลียด ขยับขาไม่หายคัน ดึงกางเกงในขึ้นยิ่งคันมากขึ้น จะไปตรวจหรือเล่าให้ใครฟังก็อาย พาลนอนไม่หลับ ใจสั่น พอกลับบ้านเข้าห้องได้โอกาสเกาให้หายแค้น เลยเกิดแผลน้ำเหลืองไหล ถึงขั้นนี้ทนไม่ไหวตรวจเป็นตรวจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    อาการเวียนหัว (เวียนศีรษะ) มึนหัว (มึนศีรษะ) เมา มึนงง โซเซ โคลงเคลง บ้านหมุน ตัวหมุน หรืออาการที่คล้ายกันนี้ เป็นอาการที่มนุษย์แทบทุกคนเคยเป็น หรือเคยผ่านพบด้วยตนเองมาทั้งสิ้น อาการเหล่านี้บางครั้งก็ชัดเจน บางครั้งก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดเป็นลักษณะเหมือนกับแกล้ง แต่บางคนก็แกล้งจริงๆ เช่น แกล้งทำเป็นมึนเมา แกล้งเดินโซเซ หรือแกล้งบ่นว่ามึนหัวเวียนหัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    นอกจากความไม่สมดุลระหว่าง จำนวนบุคลากรทางการแพทย์กับจำนวนประชาชนแล้ว ภาวะสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันยังทำให้ประชาชนจำนวนมากไม่สามารถใช้บริการของสถานพยาบาลได้ทุกครั้ง การดูแลตนเอง หรือดูแลซึ่งกันและกันเมื่อมีความผิดปกติบางอย่าง จึงมีความสำคัญที่จะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือบรรเทาภาวะวิกฤตก่อนที่จะไปสถานพยาบาลได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ก่อนอื่นผมต้องขออภัยต่อท่านผู้อ่านเป็นอย่างยิ่ง ที่คอลัมน์ “พันธุ์ดี” หายหน้าหายตาไปเสียนาน เพราะภารกิจหน้าที่ประจำฉบับนี้ก็กลับมาทำหน้าที่อย่างเก่า ในสองตอนก่อน (ฉบับที่ 59, 60) ได้เล่าแล้วว่าหูตึงหูหนวกกรรมพันธุ์ในบางกรณีพบร่วมกับความผิดปกติอย่างอื่น เป็น “กลุ่มอาการ” เหล่านั้นดูบ้าง เพราะว่าลักษณะผิดปกติของร่างกายบางอย่างมันจะช่วยบอกเราว่าเด็กหรือคน ๆ นั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    “นักวิ่งจะกินอาหารยังไงก็ได้ไม่อ้วนหรอก”ข้อความทำนองนี้เราอาจจะเคยได้ยินกันบ่อย ๆ แต่อย่าไปหลงเชื่อเข้าเชียวนะครับ เพราะว่าคุณเองก็อาจจะเป็นนักวิ่งอีกคนหนึ่งในหลาย ๆ หมื่นหลายพันคนที่น้ำหนักตัวก็ยังเกินพิกัดอยู่ดี แม้จะวิ่งมานานโขแล้วก็ตามทำไมรึครับ อาจเป็นเพราะยังวิ่งไม่พอกระมัง หรือว่าวิ่งผิดวิธี อาหารซะละมั้งที่เป็นผู้ร้ายในเรื่องนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    คำพระท่านสอนเอาไว้ อายตนะหรือความรับรู้ของคนเรามี 5 ประการได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสรูป ใช้ประสาทตารส ใช้ลิ้นกลิ่น ใช้จมูกเสียง ใช้หูสัมผัส ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    ก่อนอื่นต้องขอให้คำจำกัดความ หรือความหมายของคำว่า “ต้อกระจก” เสียก่อน ต้อกระจกหมายถึงภาวะที่เลนส์ภายในลูกตาเกิดภาวะขาวขุ่นขึ้นเนื่องจากสาเหตุอะไรก็ได้ ...