วินิจฉัยโรคเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ลิ้นคือหน้าต่างของร่างกายการเกิดและดำเนินของโรคนั้นเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน การดูลิ้นเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้เราเข้าใจการดำเนินและการเปลี่ยนแปลงของโรคได้ หลักการสำคัญในการดูลิ้นนั้น กล่าวโดยรวมๆแล้วก็คือ การดูตัวลิ้นและฝ้าบนลิ้น โดยทั่วไปแล้วการดูลักษณะของลิ้นจะทำให้เราเข้าใจสภาพร่างกายของผู้ป่วย และความรุนแรงของโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    ริดสีดวงทวารข้อน่ารู้1. ริดสีดวงทวาร หมายถึง กลุ่มหลอดเลือดดำขอดในบริเวณทวารหนัก อันเป็นผลมาจากแรงกดดันต่อหลอดเลือดดำในบริเวณนั้นนานๆ สาเหตุที่พบบ่อยก็คือ อาการท้องผูก หรือการนั่งเบ่งถ่ายนานๆเป็นประจำนอกจากนี้ยังอาจพบในหญิงตั้งครรภ์ คนที่มีอาการไอเรื้อรัง คนอ้วน ผู้ป่วยตับแข็ง ต่อมลูกหมากโต หรือมีก้อนเนื้องอกในช่องท้อง เป็นต้น โรคนี้จึงพบได้บ่อยในคนทั่วไป2. อาการสำคัญของโรคนี้ ก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนที่ 1)ช่วงนี้มีปัญหาสุขภาพเข้ามามาก ปัญหาสุขภาพที่ถามมาทางจดหมายเป็นปัญหาที่ตอบยากแล้วอาจจะผิด ทำให้เป็นอันตรายได้เพราะประวัติหรือข้อมูลที่ให้มาทางจดหมายนั้น เป็นข้อมูลที่ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยคิดหรือเข้าใจเอาเอง ไม่มีการซักถามหรือสอบถามโดยคนตอบปัญหา เพื่อให้เข้าใจตรงกันกับผู้ป่วยหรือเพื่อให้ข้อมูลชัดเจนขึ้น นอกจากนั้น ยังไม่มีการตรวจร่างกายและการตรวจอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    30 คำถาม – คำตอบ การคุมกำเนิดถ้าพูดถึงเรื่องการคุมกำเนิด หลายคนคงคิดถึงการทำอย่างไรไม่ให้มีลูกเท่านั้น แต่ความเป็นจริงนั้น มันเป็นส่วนหนึ่งของการมีชีวิตคู่การเริ่มต้นของการใช้ชีวิตคู่ของคนสองคน ซึ่งมาจากครอบครัวและการเลี้ยงดูที่แตกต่างกัน ย่อมมีความรู้สึกนึกคิด ตลอดจนอุปนิสัยและพฤติกรรมแตกต่างกันออกไปด้วย แต่เมื่อมาใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน ก็ต้องมีการปรับตัวปรับใจเข้าหากัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    ลิ้นทางคลินิกการดูลิ้นเป็นวิธีการในการวินิจฉัยโรควิธีหนึ่งของแพทย์จีน การดูลิ้นนั้นจะต้องดูที่ตัวลิ้น (สีของลิ้น รูปร่างลักษณะของตัวลิ้น) และฝ้าบนลิ้น (สีของฝ้าบนลิ้น)ทฤษฎีการแพทย์จีนนั้นเชื่อว่า อวัยวะต่างๆของร่างกายเป็นองค์รวมที่ตรงกันข้าม และเป็นเอกภาพกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    30 คำถาม – คำตอบเกี่ยวกับไข้สุกใสฤดูร้อนกำลังจะผ่านไป ซึ่งเป็นฤดูที่ไข้สุกใสระบาดได้มากกว่าฤดูอื่น และมีผู้ที่ถามถึงเรื่องนี้เข้ามามากมายทีเดียว หมอชาวบ้านจึงขอเชิญคุณหมออำนาจ บาลี ให้มาไขข้อข้องใจดังกล่าว ซึ่งจะเสนอในลักษณะเป็นคำถามและคำตอบ โดยได้รวบรวมคำถามเกี่ยวกับไข้สุกใสที่คนนิยมถามกันเข้ามาไข้สุกใส เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่มีลักษณะอาการออกตุ่มตามผิวหนัง อาจจะมีอาการไข้ต่ำๆบ้าง1. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ปัญญาอ่อน – ดาวน์ซินโดรม(โรคที่เกิดจากมีแถบพันธุกรรมเกิน)“หมอรู้สึกเสียใจที่ตรวจพบว่าลูกชายของคุณเป็นโรคปัญญาอ่อน”ทารกน้อยหลังคลอดไม่ถึงเดือนหน้าตาแปลก ค่อนข้างนิ่งเฉย ไม่งอแง ดูเหมือนเด็กเลี้ยงง่าย คุณพ่อคุณแม่รู้สึกแปลกใจว่าผิดแผกจากเด็กอื่น จึงพามาปรึกษาหมอ“สายเลือดเราไม่มีใครเป็นโรคปัญญาอ่อนกันเลย ไม่อยากเชื่อว่าลูกของเราจะเป็นโรคนี้...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    นิ่วในท่อไตข้อน่ารู้1. ทางเดินปัสสาวะของคนเราเริ่มจากไตลงมาที่ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และสิ้นสุดที่ท่อปัสสาวะโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะอาจเกิดขึ้นตรงจุดใดจุดหนึ่งก็ได้ ซึ่งมีสาเหตุ อาการ การรักษา และวิธีป้องกันแตกต่างกันไปในที่นี้จะกล่าวเฉพาะโรคนิ่วในท่อไต ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดอาการปวดท้องรุนแรง 2. นิ่วในท่อไต เป็นก้อนนิ่วขนาดเล็กที่ก่อตัวขึ้นในไตแล้วตกผ่านลงมาในท่อไต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ภาพจำลองย่อส่วนของร่างกายมนุษย์ ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึง “ลิ้นบอกโรค” และได้กล่าวถึงทฤษฎีการแพทย์จีนที่กล่าวถึงเส้นลมปราณ ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมโยงอวัยวะภายในต่างๆเข้าด้วยกัน ...