วินิจฉัยโรคเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    เกลื้อนข้อน่ารู้1. เกลื้อน (Tinea versicolor) เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยโรคหนึ่งในคนหนุ่มสาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มคนที่มีเหงื่อออกมาก เช่น ผู้ใช้แรงงาน (ชาวไร่ ชาวนา กรรมกร) พนักงานขับรถ นักกีฬา รวมทั้งผู้ที่ทำงานกลางแดดสาเหตุเกิดจากเชื้อรากลุ่มมาลาสซีเซียเฟอร์เฟอร์ ซึ่งเป็นเชื้อราที่มีอยู่ตามผิวหนัง(โดยเฉพาะที่หนังศีรษะ)เป็นปกติวิสัยอยู่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 2)ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 2หญิงไทยอายุ 45 ปี หน้าตามีแววกังวลและไม่สบาย เดินอย่างระโหยโรยแรงเข้ามาพบหมอหญิง : “อิชั้นมาขอตรวจโรคหัวใจค่ะ”หมอ : “ทำไมคุณรู้ว่าคุณเป็นโรคหัวใจครับ”หญิง : “อิชั้นไปตรวจมาหลายแห่งแล้วค่ะ ครั้งสุดท้ายที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง หมอบอกว่าเป็นโรคหัวใจค่ะ และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย ”หมอ : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    ก้าวใหม่7 สมุนไพรไทยสมุนไพรกับมนุษยชาติ : คุณค่าอยู่คู่โลกสมุนไพรทรงคุณประโยชน์และมีค่าอยู่ในตัว ไม่ว่าจะถูกนำมาใช้หรือถูกละเลยทอดทิ้งตามสภาพธรรมชาติ(เป็นของคู่โลกคู่มนุษย์มาแต่โบราณ) การที่มนุษย์รู้จักนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์เป็นยา หนึ่งในปัจจัยสี่ได้นั้นแสดงถึงความรอบรู้ในธรรมชาติของต้นไม้นานาชนิด ความรอบรู้นี้ได้พัฒนาขึ้นมาเป็นลำดับถึงขั้นเป็นศิลปวิทยาด้านสมุนไพร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    เจ็บหัวใจ(ตอนที่ 1)ปัจจุบันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (coronary atherosclerosis) ที่ทำให้เกิดอาการเจ็บหัวใจ(angina pectoris) และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) ได้มีการพบบ่อยขึ้นและมากขึ้นในเมืองไทยการพบบ่อยหรือพบมากขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากการมีโรคนี้(อุบัติการของโรคนี้)เพิ่มขึ้น เนื่องจากคนไทยเราดำรงชีวิตแบบคนฝรั่งมากขึ้น เช่น กินอาหารไขมันเพิ่มขึ้น อ้วนขึ้น ออกกำลังกายน้อยลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    ดาวน์ซินโดรม ปัญญาอ่อนที่พัฒนาได้ดิฉันเจอกับแฟนเมื่อต้นปี’36 เราดูใจกันไม่นานก็ตกลงแต่งงานกัน เนื่องจากต่างคนต่างอายุมากแล้ว หลังแต่งงานเราจึงปล่อยไม่มีการคุม เพราะอยากมีลูกเร็วๆ หลังแต่งงานไม่นานดิฉันก็ตั้งครรภ์ เราทั้งสองดีใจมาก ดิฉันพยายามดูแลสุขภาพอย่างดี เพื่อลูกในท้องจะได้แข็งแรง เมื่อครบกำหนดคลอด ตอนคลอดลูกคลอดยากนิดหน่อยดิฉันได้ลูกสาวหน้าตาน่าเกลียดน่าชัง คุณพ่อและคุณยายดีใจมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    กลาก – โรคเชื้อราของผิวหนังข้อน่ารู้1. โรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อรามีอยู่หลายชนิด ซึ่งมีสาเหตุและอาการต่างกัน ที่พบบ่อยได้แก่ กลากและเกลื้อน2. กลาก (ring worm หรือ tinea) เกิดจากเชื้อรากลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ ซึ่งชอบเจริญอยู่เฉพาะในผิวหนังชั้นนอกสุด รวมทั้งเส้นผมและเล็บ โรคนี้สามารถติดต่อได้ง่าย (ตรงข้ามกับเกลื้อนซึ่งติดต่อยาก) โดยการสัมผัสกับคนไข้โดยตรง หรือใช้ของร่วมกับคนไข้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ต้อ4 จำพวก“คุณหมอครับ โรคต้อมีทั้งหมดกี่ชนิดด้วยกันครับ”คุณลุงเอ่ยขึ้น “ที่สงสัยก็เพราะว่าเมื่อเดือนก่อนลุงมีอาการตามัว ไปให้หมอตรวจ หมอบอกว่าเป็นโรคต้อกระจก แต่คุณป้าข้างบ้านผมเมื่อสัปดาห์ก่อนไปหาหมอด้วยอาการตามัวแบบผม หมอบอกว่าเป็นโรคต้อหิน โรคต้อทั้ง 2 ชนิดนี้เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรครับ”“แหม คุณลุงเล่นถามทีเดียวหลายข้อแบบนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนข้อน่ารู้1. สันหลังของคนเราประกอบด้วยกระดูกสันหลังชิ้นย่อยๆกว่า 30 ชิ้นเรียงต่อกันเป็นแนวยาวจากต้นคอจรดก้นกบ โดยมีแผ่นเนื้อเยื่อที่เรียกว่า “หมอนรองกระดูกสันหลัง” (intervertebral disc) คั่นกลางรอยต่อระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละคู่ หมอนรองกระดูกนี้มีลักษณะยืดหยุ่นเพื่อช่วยให้สันหลังเคลื่อนไหวได้บ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนจบ)ตามที่ผมได้เกริ่นไว้ในคราวที่แล้วว่า จดหมายที่เขียนมาถามปัญหาสุขภาพให้ผมนั้นเป็นจดหมายที่ตอบยาก เพราะเขียนเล่าข้อมูลมาไม่ละเอียด ตอบแล้วอาจจะผิดพลาดทำให้เป็นอันตรายต่อผู้ถามได้ ซึ่งผมจะขอยกตัวอย่างอีกเล็กน้อยนะครับปัญหาที่ ๓“บางครั้งเวลาอยู่เฉยๆจะรู้สึกเจ็บเหมือนมีวัตถุแหลมทิ่มแทงเนื้อภายในร่างกาย ซึ่งจะทำให้สูดลมหายใจได้ไม่เต็มที่และเจ็บมากด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การเคาะปอด เทคนิคขับเสมหะแบบประหยัดบางครั้งเราเดินเข้าไปในกลุ่มคน เราจะได้ยินเสียงไอ เสียงนั้นกลั้วไปด้วยเสมหะในคอ แล้วตามด้วยการขากเอาเสมหะทิ้ง บางครั้งก็เงียบเสียงไปเลยไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ย่อมเกิดภาวะนี้ได้เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนที่เป็นไข้หวัดกันได้ง่าย หรือในหมู่คนที่สูบบุหรี่เสมหะเกิดขึ้นได้อย่างไร เสมหะมีคุณประโยชน์หรือโทษเราจะขจัดเสมหะได้อย่างไร ...