วินิจฉัยโรคเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    โภชนาการ หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์ แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ำจุน และการซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนั้นการได้อาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงคอลัมน์ “กินถูก...ถูก...” ได้รับความร่วมมือจากสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับนี้เสนอเรื่อง พยาธิใบไม้ตับ โดย อาจารย์จินตนา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นอันที่จริง “ความดันเลือดสูง” ไม่ใช่อาการ (symptom) แต่เป็นอาการแสดง (sign) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 117 มกราคม 2532
    “หมอกับชาวบ้านแม้จะเป็นคนไทยเหมือนกัน แต่หมอก็มีวัฒนธรรมแบบหมอ ๆ และชาวบ้านก็มีวัฒนธรรมแบบชาวบ้าน ๆ วัฒนธรรมในที่นี้ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อค่านิยม ความถนัด ความเคยชิน ธรรมเนียมปฏิบัติ รวมทั้งภาษาในการสื่อสาร “พูดจาภาษาหมอ” มิเพียงแต่เป็นเรื่องของการอธิบายศัพท์ที่เกี่ยวกับสุขภาพเท่านั้น แต่ยังมุ่งหมายให้เป็นสะพานเชื่อมระหว่างวัฒนธรรมย่อยสองระบบเข้าด้วยกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 117 มกราคม 2532
    หิด เป็นโรคผิวหนังอักเสบที่เกิดจาก ตัวหิด ซึ่งเป็นตัวไรเล็กๆ สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่งเป็นจุดขาวเล็กๆ โรคนี้พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย สามารถติดต่อได้ง่าย โดยการสัมผัสหรือใช้ของร่วมกัน มักพบเป็นพร้อมกันหลายคนในบ้าน บางครั้งอาจพบระบาดตามวัด โรงเรียน โรงงาน กองทหาร ความยากจน ความสกปรก และการอยู่กันแออัดเป็นปัจจัยสำคัญของการระบาดของโรคนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 117 มกราคม 2532
    เชิญเล่าเรื่องให้เพื่อนฟัง ขอเชิญท่านผู้อ่านร่วมเขียนเรียงความเล่าประสบการณ์ การดูแลรักษาสุขภาพตนเอง หรือให้แก่ผู้อื่น (สมาชิกในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือเพื่อนร่วมงาน) ความยาวมาเกิน 2 หน้ากระดาษฟุลสแก๊ปโดยประมาณ ส่งไปยังสำนักงานหมอชาวบ้าน ก่อนวันที่ 25 ของทุก ๆ เดือน คณะกรรมการจะตัดสินเรียงความทุกเดือน โดยคัดเลือกเรียงความที่เหมาะสมที่สุดลงตีพิมพ์ เรื่องใดที่ตีพิมพ์ลงในหมอชาวบ้าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 117 มกราคม 2532
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารเรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นในฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงลักษณะ และการสังเกตคนไข้ที่มีอาการหายใจผิดปกติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    คนไข้ในภาพนี้มีลักษณะอาการที่เด่นชัดคือหน้าอูมกลมเป็นวงพระจันทร์ แก้มแดง หน้าท้องลาย พุงป่อง มีก้อนไขมันที่ต้นคอและหัวไหล่ ขาลีบนี่คือลักษณะอาการของโรคชนิดหนึ่งที่เรียกว่า“โรคคุชชิ่ง "(Cushing’s syndrome) ส่วนมากเกิดจากการใช้ยาสเตียรอยด์ติดต่อกันนาน ๆ ยาสเตียรอยด์ที่รู้จักกันดี ได้แก่ เพร็ดนิโซโลน และเดกซาเมทาโซนโรคบางชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    คุณระทึก อายุ 31 ปี มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหารมาประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนหน้านี้สบายดีมาตลอดไม่เคยเจ็บป่วย เมื่อเริ่มไม่สบาย รู้สึกตัวร้อน ๆ มีไข้ ปวดเมื่อยทั่ว ๆ ไป อยู่ 2 วัน หลังจากไข้ลดก็รู้สึกเพลีย ๆ มาตลอด สามวันก่อนมาพบแพทย์มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนวันละ 1-2 ครั้ง เพลียมาก ปัสสาวะเข้มจัดคล้ายสีน้ำชา คุณไฉไลสังเกตเห็นตาสีเหลือง ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นอาการ “หายใจไม่สะดวก” มีความหมายกว้างมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    “หมอกับชาวบ้านแม้จะเป็นคนไทยเหมือนกัน แต่หมอก็มีวัฒนธรรมแบบหมอ ๆ และชาวบ้านก็มีวัฒนธรรมแบบชาวบ้าน ๆ วัฒนธรรมในที่นี้ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม ความถนัด ความเคยชิน ธรรมเนียมปฏิบัติ รวมทั้งภาษาในการสื่อสาร “พูดจาภาษาหมอ” มิเพียงแต่เป็นเรื่องของการอธิบายศัพท์เกี่ยวกับสุขภาพเท่านั้น แต่ยังมุ่งหมายให้เป็นสะพานเชื่อมระหว่างวัฒนธรรมย่อยสองระบบเข้าด้วยกัน ...