วินิจฉัยโรคเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    ความดันเลือดสูงข้อน่ารู้1.หัวใจของคนเราทำหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ทำให้เกิดแรงดันขึ้นภายในหลอดเลือดแดง ซึ่งสามารถใช้เครื่องวัดความดัน ทำการตรวจวัดไม่ได้ โดยนิยมวัดที่บริเวณต้นแขน และมีหน่วยของค่าความดันเป็น “มิลลิเมตรปรอท”ความดันเลือดมีค่าที่วัดได้ 2 ค่า ได้แก่ ความดันช่วงบน(หรือความดันซิสโตลี) ซึ่งเป็นค่าความดันเลือดที่วัดได้ขณะหัวใจบีบตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 3)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคน ดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 2 : เป็นอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่ง ขณะกำลังยืนสอนนักเรียนแพทย์และแพทย์ประจำบ้านอยู่ข้างเตียงคนไข้ ก็เกิดอาการ “วูบ” ล้มลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    เสียงพูดผิดปกติเสียงพูดผิดปกติ หมายถึง น้ำเสียงของเสียงพูดนั้นผิดไปจากปกติที่เคยเป็น ทำให้ผู้ฟังรู้สึกไม่คุ้นหู อาการเสียงพูดผิดปกติ เช่น เสียงแหบ เสียงแห้ง เสียงขึ้นจมูก เสียงอู้อี้ เสียงสูงไปหรือต่ำไป เสียงหลง เสียงราบเรียบ เสียงดังไปหรือเสียงค่อยไป เสียงห้าว เสียงหอบ เสียงสั่น หรือการที่พูดแล้วไม่มีเสียง เหล่านี้เป็นต้นอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่รู้ตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    ลายนิ้วมือลายนิ้วมือนั้นมีมาแต่กำเนิด และจะดำรงอยู่โดยไม่เปลี่ยนแปลงตลอดชีวิต ด้วยเหตุนี้ประชากรทั่ว-โลกจำนวนหลายพันล้านคนจะไม่มีใครที่มีลายนิ้วมือเหมือนกันเลย ดังนั้นการพิมพ์ลายนิ้วมือจึงเป็นสิ่งที่มีเฉพาะบุคคล และจำแนกบุคคล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    แอลกอฮอล์ กับโรคหัวใจพักนี้มีเรื่องแอลกอฮอล์กับโรคหัวใจปรากฏในวารสารทั้งรายวันและรายปักษ์บ่อยครั้ง ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย โดยมีข้อความเป็นเชิงให้เข้าใจว่าแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะในรูปของเหล้าองุ่นในปริมาณที่พอเหมาะจะช่วยป้องกันโรคหัวใจได้บทความเหล่านี้มีความจริงอยู่บ้าง แต่ไม่ตลอด กล่าวคือ ผู้เขียนมักไม่บอกทุกแง่ทุกมุมของแอลกอ-ฮอล์ ผมคิดจะรวบรวมมาเล่าให้ฟังอย่างไม่เป็นวิชาการนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    ไข้รูมาติก ข้อน่ารู้1.ไข้รูมาติก เป็นชื่อโรคชนิดหนึ่ง ที่แปลมาจากคำภาษาอังกฤษว่า rheumatic fever เป็นโรคที่มีมาแต่ดั้งเดิม หากแต่ไม่มีชื่อเรียกแบบไทย ๆ จึงจำต้องคล้อยตามชื่อสากล เฉกเช่นชื่อโรคอื่น ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 2)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสนจนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่ายเข้าใจง่ายเพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ในคนไข้รายแรกนี้จึงเป็นอาการวูบที่เกิดจาก “ภาวะความดันเลือดตกเมื่อเปลี่ยนท่า"(orthos-tatic hypotension) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    ผิวแพ้ เครื่องสำอางมนุษย์เราโดยเฉพาะคุณสุภาพสตรีนั้น เป็นเพศที่รักสวยรักงาม ดังนั้น จึงมีการใช้เครื่องสำอางมาปรุงแต่งเพื่อหวังที่จะให้ตนเองดูงามยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ของทุกอย่างย่อมมีทั้งข้อดีและข้อเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เครื่องสำอางโดยฟังแต่คำโฆษณาชวนเชื่ออย่างเดียว อาจเป็นผลร้ายต่อผิวหนัง การเลือกใช้จึงต้องใช้วิจารณญาณว่ามีความจำเป็นแค่ไหน มีอัตราเสี่ยงภัยหรือไม่คำว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    วัณโรคปอด เอกซเรย์ปอดพบว่าเป็นวัณโรคปอด โดยพบจุดที่ปอด เมื่ออยู่ร่วมกับครอบครัวจะทำให้ภรรยาและลูกติดโรคนี้หรือไม่ผู้ถาม ชัยวัฒน์/อุดรธานีผู้ตอบ นพ. สันต์ หัตถีรัตน์ผมอายุ 33 ปี มีลูก 2 คน ผมทำงานต่างจังหวัด วันเสาร์-อาทิตย์ ซึ่งได้กลับมาอยู่กับครอบครัว เมื่อเร็ว ๆ นี้ผมได้ไปเอกซเรย์ปอดพบว่า เป็นวัณโรคโดยพบจุดที่ปอด ซึ่งก่อนหน้านี้ผมจะเป็นไข้หวัดบ่อย ๆ เหงื่อออกตอนกลางคืน ไอมีเสมหะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    7คำถาม น่ารู้กับอีโบล่า1. ที่มาของเชื้ออีโบล่าเชื้ออีโบล่าเป็นเชื้อไข้เลือดออกที่พบในทวีปแอฟริกา รู้จักเมื่อมีการระบาดครั้งแรกที่ประเทศซาอีร์ และซูดาน เมื่อปี พ.ศ.2519 สามารถแยกเชื้อและศึกษารายละเอียดได้ พบว่าเชื้อที่แยกได้ที่ประเทศซูดาน ทำให้เกิดโรคระบาดที่มีอัตราตายต่ำกว่าเชื้อที่ระบาดในประเทศซาอีร์เชื้อที่มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายเชื้ออีโบล่าจัดอยู่ในสกุลไฟโลไวรัสนี้ ...