วินิจฉัยโรคเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 202 กุมภาพันธ์ 2539
    ปวดหัว (ตอนที่ 2 ) คนไข้รายที่ 2หญิงอายุประมาณ 40 ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงในตอนกลางดึกหญิง : “โอย...คุณหมอ...ช่วยหน่อย ปวดหัวจังเลยค่ะ”หมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    ปวดหัวปวดหัวหรือปวดศีรษะ ในที่นี้หมายถึง อาการปวด หรือเจ็บ หรือตื้อ หรือร้าว หรือหนักบริเวณหัว (บริเวณศีรษะ) ตั้งแต่บริเวณส่วนบน(หน้าผาก) ขึ้นไปที่ส่วนบนสุดของศีรษะแล้วลงไปยังบริเวณท้ายทอย และด้านข้างของกะโหลกศีรษะทั้งสองข้างถ้าปวดต่ำกว่าหน้าผากลงมาเรามักจะเรียกเป็นการปวดของส่วนต่าง ๆ ที่มีชื่อเฉพาะโดยตรง เช่น ปวดคิ้ว ปวดจมูก ปวดโหนกแก้ม ปวดคาง (เจ็บคางหรือเจ็บขากรรไกร) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    ความรัก มิตรภาพ ชีวิต กับผู้ติดเชื้อเอดส์ในปี พ.ศ. 2527 พบผู้ป่วยเอดส์ที่เป็นคนไทยรายแรก ในขณะนั้นเข้าใจว่า โรคเอดส์เป็นโรคที่พบกันในชายรักร่วมเพศเท่านั้น และไม่คิดว่าโรคเอดส์จะเข้ามาแพร่กระจาย ในคนทั่วไป มาตรการในการป้องกันและเผยแพร่ความรู้จึงเน้นกลุ่มเป้าหมายคือ ชายรักร่วมเพศ หรือกลุ่มเกย์ในปี พ.ศ.2530-2531 พบผู้ติดเชื้อเอดส์ในกลุ่มผู้ฉีดยาเสพติดเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    เอดส์ข้อน่ารู้1. เอดส์ (AIDS) หรือโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นโรคใหม่ที่มีรายงานครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2534 และมีรายงานผู้ป่วยรายแรกในประเทศไทยเมื่อปี 2527 โรคนี้มีการระบาดในทวีปแอฟริกาก่อนที่จะแพร่กระจายไปยังสหรัฐอเมริกา ทวีปยุโรปและลุกลามไปทั่วโลก เชื้อก่อโรคเป็นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการค้นพบในปี 2526 (หลังจากพบผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่องจำนวนมาก ซึ่งเป็นปริศนาดำมืดอยู่หลายปี) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 6)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 5 : หญิงวัยรุ่นอายุประมาณ 20 ปี แต่งเครื่องแบบนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีชื่อแห่งหนึ่ง เดินเข้ามาหาหมอด้วยใบหน้าแสดงความกังวลหญิง : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 199 พฤศจิกายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 5)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้ประโยชน์ในวงกว้างต่อไป คนไข้รายนี้ไปโรงพยาบาลด้วยอาการ “วูบ” และหมอที่โรงพยาบาลบอกว่าเป็นสมองขาดเลือด และจะให้นอนโรงพยาบาลไม่ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 199 พฤศจิกายน 2538
    ธาลัสซีเมียข้อน่ารู้1. ไขกระดูก ซึ่งอยู่ภายในโพรงกระดูกทุกส่วนของร่างกาย มีหน้าที่ในการผลิตเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด แล้วป้อนเข้ากระแสเลือดไหลเวียนไปทั่วร่างกายเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่นำก๊าซออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงร่างกายให้เกิดการเผาผลาญอาหารจนเกิดพลังงานให้ดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข และขนถ่ายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาผลาญดังกล่าว ไปซับออกที่ปอดเม็ดเลือดขาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ฮ่องกงฟุตข้อน่ารู้1.ฮ่องกงฟุต หมายถึง อาการแผลเปื่อยที่ง่ามนิ้วเท้า คนทั่วไปเข้าใจว่าเกิดจากการย่ำน้ำ (เน่า) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าฝนที่มีน้ำท่วมขัง บางครั้งก็เรียกกันว่า “น้ำกัดเท้า”ชื่อนี้มีความเป็นมาอย่างไร ก็คงจะคาดเดาได้ แต่ก็มีการพูดกันต่อ ๆ กันมาในหมู่คนไทยจนเป็นที่เข้าใจกันดังความหมายข้างต้น2. แผลเปื่อยที่ง่ามเท้า มีสาเหตุที่พบได้บ่อย 2 โรค ได้แก่ (ก) โรคเชื้อรา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    มือ บอกโรคทางแพทย์จีนถือว่าลักษณะของมือ สีของฝ่ามือ ความชุ่มแห้งของมือ และหลอดเลือดของฝ่ามืก็มีความสามารถบอกความสมบูรณ์ของร่างกายได้ความอวบของมือถ้าเป็นผู้ที่มีมืออวบ แสดงว่าเป็นผู้ที่มีพลังเต็มเปี่ยมในการทำงาน ถ้ามือเล็กเรียวและอ่อน แสดงว่าร่างกายไม่แข็งแรง เป็นโรคได้ง่าย บางครั้งแม้มือจะอวบ แต่ถ้าอ่อนไม่มีแรง แสดงว่าร่างกายไม่แข็งแรง เช่นกันถ้ากล้ามเนื้อบนฝ่ามือแน่น แต่ขาดความยืดหยุ่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 4)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปในผู้ป่วยที่เกิดอาการวูบรายนี้ สาเหตุเกิดจาก 4 ประการด้วยกัน คือ1. อดนอน นอนดึก2. เพิ่มยาลดความดันเลือด3. การงดอาหารเช้า4. อากาศที่อับ ...