คุยสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 36 เมษายน 2525
    ในกระบวนโรคหรือความไม่สบายทางกายต่างๆ ที่เกิดแก่คนเรานี้ โรคหรืออาการท้องผูกมาเป็นที่หนึ่ง ประเทศไทยสั่งยามาจากต่างประเทศปีละ 120 ตัน นับว่ามากกว่าการใช้ยาหลายชนิดทีเดียว คนโดยมากได้รับการบอกเล่ามาหรือเชื่อกันมาอย่างผิดๆ เกี่ยวกับเรื่องท้องผูก ตอนนี้ได้เวลาที่จะทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้กระจ่างเสียทีก่อนอื่นเราต้องเข้าใจกันเสียก่อนว่า ลำไส้ใหญ่ซึ่งเป็นที่พักของกากอาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 36 เมษายน 2525
    ทั้งกลากและเกลื้อน เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื่อรา แต่มีลักษณะอาการแตกต่างกันกลาก (รูปที่ 1)จะมีลักษณะเป็นวงแดงเห็นขอบนูนชัดเจน รอบๆ มักมีตุ่มใสเล็กๆ เรียงเป็นวง ตรงกลางจะเป็นขุยขาวๆ แห้งๆ มีลักษณะเป็นรูปโค้งหรือวงเดือน ชาวบ้านจึงเรียกว่า “กลากวงเดือน”มักขึ้นตามใบหน้า ลำตัว หลัง แขนขา มือ ซอกเท้าถ้าเป็นในบริเวณร่มผ้า ขาหนีบ หรืออัณฑะ ชาวบ้านเรียกว่าสังคังถ้าขึ้นที่ศีรษะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 36 เมษายน 2525
    การตรวจตามระบบการตรวจทรวงอก(ต่อ)นอกจากการดูขนาดและรูปร่างของทรวงอกแล้ว การตรวจทรวงอกด้วยการดู ยังต้องดู2. การเคลื่อนไหวตามการหายใจ : เมื่อเราหายใจเข้า กล้ามเนื้อกะบังลมจะหดตัวดึงกระดูกซี่โครงจะหดตัวดึงกระดูกซี่โครงให้ยกขึ้นและบานออก ทำให้ช่องอก (โพรงอก) ขยายใหญ่ขึ้น ปอดจึงขยายตัวออก ดูดลมผ่านจมูกหรือปาก เข้าสู่หลอดลม และปอดตามลำดับ (ดูรูปที่ 1 ก.) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2525
    ⇒ ตับ (Liver)ตับเป็นอวัยวะภายในที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญมาก อยู่ในช่องท้องใต้ชายโครงข้างขวา ติดกับด้านใต้ของกะบังลมและผนังทางด้านหน้าของหน้าท้องมีน้ำหนักกิโลกรัมกว่า หน้าที่ของตับนั้น- เก็บน้ำตาลไว้ใช้เป็นพลังงานตามที่ร่างกายต้องการ- สร้างน้ำดีมีฤทธิ์เป็นด่าง เพื่อช่วยลดกรดในลำไส้และช่วยย่อยอาหารจำพวกไขมัน- สร้างโปรตีนวิตามิน วิตามินเอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2525
    โรคผิวหนังที่พบบ่อยในหมู่ชาวบ้านๆ เรา ก็มีหิด เหา กลากเกลื้อน ลมพิษ ผื่นคัน พุพอง ชันนะตุเรียนหมอจากภาพ ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป จะได้กล่าวถึงโรคเหล่านี้ เพื่อให้คุณผู้อ่านสามารถนำไปปฏิบัติการดูแลรักษากันเองได้เลยครับฉบับนี้เราเริ่มเรื่อง หิด ดีไหมครับคุณผู้อ่านถ้าพบเด็กๆ หรือผู้ใหญ่ ที่มีตุ่มคันที่ง่ามนิ้วมือนิ้วเท้า (รูปที่ 1) ขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 ข้าง ก็น่าจะนึกถึงโรคนี้ได้เลยหิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2525
    “ยายไปอยู่โรงพยาบาลมากี่วัน” หลานชายถามยายด้วยความสงสัย“เจ็ดวัน…..”“หมอเขาว่ายายเป็นโรคอะไรล่ะ”“เอ้อ…เขาว่าเป็นโรค วิติ๊ดซ่ำ…”“โรคอะไรนะยาย”“โรควิติ๊ดซ่ำ….”ตกลงหลายชายก็รู้แต่เพียงว่า คุณยายป่วยด้วยอาการปวดตามข้อเท้า ข้อมือ ไปนอนโรงพยาบาล 7 วัน ได้ความว่าคุณยายเป็นโรค วิติ๊ดซ่ำ เท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2525
    |การตรวจตามระบบ (ต่อ)การตรวจทรวงอกทรวงอก คือ ส่วนของลำตัวตั้งแต่คอลงมาจนถึงชายโครงทั้ง 2 ข้าง ดังนั้น ทรวงอกจึงเป็นส่วนที่แข็ง (คลำแล้วแข็ง) โดยรอบทั้งแต่บนลงล่าง (หัวไหล่ลงไปถึงชายโครงทั้ง 2 ข้าง) และโดยรอบตั้งแต่ข้างหน้าอ้อมไปใต้รักแร้ไปจนถึงด้านหลัง เพราะมีกระดูกซี่โครงล้อมรอบกระดูกกลางหน้าอก (sternum) ทางด้านหน้าไปจนถึงกระดูกสันหลัง (spine) ทางด้านหลัง (ดูรูปที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 34 กุมภาพันธ์ 2525
    “คน 100 คน 10 คน จะเป็นโรคกระเพาะ”………………….............................................................(ก็หมายความว่า ถ้าคน 1 ล้านคน จะเป็นโรคกระเพาะ 1 แสนคน โอ้โฮ !)“และใครที่มักมีอารมณ์ค่อนข้างเครียด ขี้วิตกกังวล หรือคนที่มีความรับผิดชอบต่อการงานสูง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 34 กุมภาพันธ์ 2525
    โรคต้อหรือตาเป็นต้อ ที่พบบ่อยในบ้านเรา ได้แก่ ต้อกระจก ต้อหิน ต้อเนื้อ ต้อลำใย ฉบับนี้ มาพูดถึงต้อที่เหลืออีกอย่างกันดีไหมครับต้อหิน (รูปที่ 2)ต้อตาชนิดนี้ ถือเป็นโรคที่ร้ายแรง สามารถทำให้ตาบอดได้ภายในไม่กี่วัน มักจะเป็นในคนสูงอายุ มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป ถ้าใครอยู่ดีๆ มีอาการปวดหัวข้างเดียวอย่างรุนแรง ตาพร่ามัวเห็นแสงสีรุ้ง กินยา ฉีดยา อย่างไรก็ไม่หายปวด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 34 กุมภาพันธ์ 2525
    การตรวจตามระบบการตรวจคอ (ต่อ)ในการตรวจลำคอ นอกจากจะตรวจภาวะคอแข็ง คออ่อน คอเล็ก คอโต คอเป็นก้อนจากฝีจากต่อมน้ำเหลือง จากต่อมน้ำลาย จากต่อมคอพอก หรือจากก้อนอื่นๆ ซึ่งไม่พบในคนปกติแล้ว การตรวจลำคอยังรวมถึงการตรวจ5.ลักษณะของผิวหนัง : ผิวหนังบริเวณลำคอก็เช่นเดียวกับผิวหนังในบริเวณอื่น อาจจะเกิดเป็นโรคผิวหนังต่างๆ ได้ ที่พบบ่อย เช่น5.1 ผดผื่นคัน ซึ่งถ้า แคะ แกะ เกา ถู ...