คุยสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 33 มกราคม 2525
    ต้อกระจกโรคที่เกิดกับตาหลายชนิดชาวบ้านเรานิยมเรียกว่า ต้อ หรือ ตาเป็นต้อ เช่น ต้อกระจก ต้อหิน ต้อเนื้อ ต้อลำไย ต้อที่มีชื่อแปลกๆ เหล่านี้ ต่างมีสาเหตุ อาการ และความรุนแรงที่แตกต่างกันฉบับนี้เรามาคุยกันถึงโรคต้อกระจก กันดีไหมครับ⇒ ต้อกระจก หมายถึง แก้วตาหรือเลนส์ตา (Lens) ที่ขุ่นขาวผิดไปจากปกติ ที่มีลักษณะใสเหมือนกระจกใสแก้วตามีหน้าที่ในการหักเหแสง เพื่อให้ภาพที่คนเรามองนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 ธันวาคม 2524
    ฝ้าและรอยด่างดำบนใบหน้าดูเหมือนจะได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหญิงสาวและวัยกลางคน เมื่อเกิดขึ้นก็ทำให้เกิดความไม่สบายใจ กลัวว่ามันจะดำขึ้นดำขึ้นยิ่งกลัวมันก็เหมือนยิ่งเป็นยิ่งเหมือนเป็นมันก็ยิ่งกังวลยิ่งกังวลมันก็เลยยิ่งเหมือนเป็นมากเข้าไปใหญ่อันที่จริง ฝ้าและรอยด่างดำบนใบหน้ามันจะมีขอบเขตจำกัดของมันอยู่ อย่ากังวลให้มากเลยครับเพื่อคลายความกังวล (คงไม่ใช่เพิ่มนะครับ) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 ธันวาคม 2524
    เดือนนี้ผมขอพาท่านไปที่อุทยานน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และตำบลวังกลด จังหวัดพิจิตรก่อนผมได้ไปจังหวัดพิจิตร ระหว่างทางได้แวะเข้าไปที่อุทยานน้ำหนาว อุทยานนี้สวยมาก เป็นความงามตามธรรมชาติ เมื่อเข้าไปจะเห็นว่าป่าไม้เขียวชอุ่ม บริเวณกว้างขวางมาก มีทางเดินเล็กๆ สามารถเดินไปทั่วอุทยาน บางแห่งก็มีลำธารเล็กๆ ไหลริน ช่วยเสริมบรรยากาศให้รื่นรมย์ยิ่งขึ้น อากาศก็บริสุทธิ์ปราศจากมลภาวะและเย็นตลอดปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 ธันวาคม 2524
    เท้าเหยียดยืดหัตถ์ยัน ขยำเข่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 ธันวาคม 2524
    การตรวจตามระบบการตรวจปาก (ต่อ)6.คอด้านใน : การตรวจคอด้านใน จะทำได้โดยให้คนไข้อ้าปาก ให้แสงสว่างส่องเข้าไปถึงคอด้านใน ถ้าเป็นแสงแดดจะทำให้เห็นได้ชัดกว่าแสงไฟฉายในบางคน เพียงแต่อ้าปาก ก็จะเห็นคอด้านในได้ แต่ในบางคนอาจจะต้องใช้ไม้กดลิ้นหรือด้ามช้อน กดลิ้นลงจึงจะเห็นลิ้นด้านในได้การกดลิ้น ควรจะค่อยๆ กดลงตรงกลางลิ้นเพื่อให้ลิ้นแบนราบลง อย่ากดแบบกระแทกลงทันที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 พฤศจิกายน 2524
    ไขมันไขมันในร่างกายเป็นสารอินทรีย์เคมีที่ได้จากสิ่งมีชีวิตที่เรากินเป็นอาหาร เพื่อให้ร่างกายมีความแข็งแรงจำเป็นต้องมีไขมันเก็บไว้พอสมควร ไขมันมีหน้าที่สำคัญคือ1.สะสมไว้ใช้เป็นแหล่งพลังงานของร่างกาย2.เป็นโครงสร้างของเนื้อเยื่อ3.เป็นนวมสำหรับป้องกันอวัยวะภายใน4.เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของผิวหนังและระบบประสาทเมื่อเรากินอาหารเข้าไป ไขมันในอาหารจะถูกย่อยและดูดซึมผ่านผนังลำไส้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 พฤศจิกายน 2524
    เชิญเลยครับ…ถ้าใครอ้วนก็เชิญทางนี้ได้เลย แล้วก็รีบอ่านเสียบัดนี้ แต่ถ้าท่านไม่อ้วน ก็อย่าเพิ่งผ่านเลยไปนะครับ ให้หลับตานึกให้ดีว่า ท่านมีญาติพี่น้องที่ไหนบ้างที่อ้วน หลับตานึกว่า ต่อไปนี้เราจะได้ศึกษาเรื่องของคนอ้วน เผื่อจะเป็นประโยชน์ต่อชีวิตของญาติพี่น้องของเราที่อ้วนบ้างความอ้วน เป็นสิ่งดีหรือไม่ เรื่องนี้เห็นจะพูดยาก แต่เอาเถอะ ถ้าจะออกแขกก่อนก็ต้องบอกกว่า ความอ้วนนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 พฤศจิกายน 2524
    การตรวจตามระบบการตรวจปาก (ต่อ)5. ลิ้น : ลิ้นของคนเรามีลักษณะแตกต่างจากกันบ้างตามกรรมพันธุ์ และสภาพแวดล้อมของแต่ละคน จึงควรฝึกตรวจลักษณะลิ้นของญาติพี่น้องและเพื่อนบ้านที่ปกติ เพื่อจะได้รู้จักลักษณะลิ้นปกติโดยทั่วไปลิ้นปกติจะเป็นสีแดง หรือสีชมพูแก่ หยาบ (สากเล็กน้อยเวลาคลำ) ชื้น (เวลาคลำจะมีน้ำติดมือที่คลำจนเปียก) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 พฤศจิกายน 2524
    คุณทราบไหมว่า…ผมหรือขนของเรานั้น เริ่มเจริญเติบโตตั้งแต่เราอยู่ในท้องของแม่เมื่ออายุได้ 3 เดือน…มันเกิดขึ้นจากหนังกำพร้า* (หมายเลข 1) มีการแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนและแทรกยื่นลงไปในหนังกำแท้** (หมายเลข 2 และ 3 ) เซลล์ที่ยื่นลงไปจะเกาะกลุ่มกันยื่นลงไปเรื่อยๆ จนกลายเป็นปุ่ม (หมายเลข 4) และจะขยายเป็นหัวหรือตุ่มที่เราเรียกว่า รากขนหรือรากจน (หมายเลข 5) เซลล์ชั้นในๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 30 ตุลาคม 2524
    ภาพทางซ้ายมือแสดงให้เห็นว่า เต้านมจะใหญ่หรือเล็ก จะสร้างน้ำนมและหลั่งน้ำนมได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยต่อมใต้สมอง เป็นผู้บังคับบัญชาต่อมใต้สมอง (รูปอักษร ก) จะสร้างฮอร์โมนมากระตุ้นให้รังไข่ (รูปอักษร ข) เติบโต (ในรูปจะเห็นไข่เป็นเม็ดขาวๆ ) พร้อมกันนั้นก็ยังมีอิทธิพลทำให้ไข่ตกจากรังไข่ไปอยู่ที่ปีกมดลูก เพื่อเตรียมการผสม พันธุ์ (รูปอักษร ค) และในที่สุด รังไข่ก็ฝ่อไป (รูปอักษร ...