โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ฉบับที่แล้วเราคุยกันถึงเรื่องการรู้จักกินเพื่อชะลอความเสื่อมของไตให้ได้นานที่สุด แต่ถ้าเราได้พยายามดูแลรักษาร่างกายด้วยการควบคุมอาหารและการให้ยาอย่างถึงที่สุด แต่ก็ยังไม่ได้ผลจนกระทั่งไตหมดสภาพการทำงาน ไม่สามารถขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายได้แล้ว การรักษาในขั้นต่อไปคือการล้างไต หรือการผ่าตัดเปลี่ยนไต ในฉบับนี้เราจะมาคุยกันต่อว่าถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะไตวายเรื้อรังที่ต้องล้างไตแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    “คุณแม่ครับผมไม่เก่งวิทยาศาสตร์ ผมถึงหนีมาเรียนคณะนี้……ผมได้ ๘๐ หมดทุกวิชา เพราะเป็นเด็กขยันเรียนเท่านั้นเองครับ”พยาบาลหน้าห้องตรวจขานชื่อ “คุณเอกเชิญเข้าห้องพบแพทย์ค่ะ” ประตูห้องถูกผลักเข้ามาอย่างแรง พร้อมกับการปรากฏตัวของคน ๒ คน เดินจูงมือกันมา คนนำหน้าเป็นหญิงสูงวัย คาดว่าอายุคงไม่ต่ำกว่า ๕๐ ปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกากับสวิตเซอร์แลนด์อนุมัติให้ใช้ยา "เอ็กซ์เจด (Exjade)" ยาขับเหล็กชนิดกินแทนการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง จึงเป็นทางเลือกใหม่สำหรับการรักษาภาวะเหล็กเกินในผู้ป่วยโรคโลหิตจางเรื้อรังที่ต้องได้รับเลือดบ่อยครั้งExjade เป็นยาขับเหล็กชนิดเม็ดละลายน้ำ ให้ความสะดวกกว่ายาขับเหล็กชนิดฉีด ที่ต้องฉีดเข้าใต้ผิวหนังต่อเนื่องนานกว่า ๘-๑๒ ชั่วโมง เป็นเวลา ๕-๗ วันต่อสัปดาห์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    เมื่อได้เห็นชื่อเรื่อง"ชีวิตเป็นสุขได้ แม้ไตวาย"นี้ ผู้อ่านอาจสงสัยว่าจะเป็นไปได้อย่างไร ทุกวันนี้ใครได้ยินคำว่า ‘โรคไต ’ ก็เหมาเอาว่าเท่ากับ ‘โรคตาย’ เลยทีเดียว ทั้งๆ ที่โรคไตนั้นมีมากมายหลายชนิดบางชนิดไม่ต้องให้การรักษาด้วยยา เพียงแต่รู้จักและเข้าใจอาการของโรค ไม่ไปทำอะไรที่เป็นการซ้ำเติมให้อาการของโรคมากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    หน้าที่หลักของไตคือการกรองของเสียจากเลือดและขับถ่ายออกทางปัสสาวะ รวมทั้งรักษาดุลของน้ำ เกลือแร่และความเป็นกรดด่างของเลือด ปัจจุบันเรามักได้ยินคนรอบข้างพูดถึงโรคไตอยู่เสมอๆ ซึ่งขอทำความเข้าใจกับผู้อ่านแต่ต้นเรื่องว่าโรคไตเรื้อรังที่กำลังพูดถึงในฉบับนี้ เป็นอาการเริ่มต้นของโรคไตเรื้อรัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    การเรียนหนังสือเป็นเพียงมิติหนึ่งของชีวิต การทำงานการปรับตัวไม่มีในตำรา “วันนี้มีอะไรฮากันอีกแล้ว” นี่คือคำพูดของป้าคนหนึ่งที่พูดกับหมอฤดี ถึงหลานชายของตน นั่นคือน้องอัจ น้องอัจมักเป็นเหยื่อถูกป้าทั้งหลายนินทาด้วยความรักและความเอ็นดูเสมอๆ เพราะเป็นเด็กช่างพูด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    อัมพฤกษ์ อัมพาต คือภาวะที่สมองขาดเลือดหรือเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ส่งผลให้การทำงานของสมองหยุดชะงัก ซึ่งผลที่ตามมาก็คือจะมีอาการอ่อน แรงด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้ง ๒ ด้าน พูดไม่ได้หรือพูดลำบาก กลืนอาหารลำบาก สำลักหรือกินอาหาร เองไม่ได้อาจมีอาการสับสนในการสื่อสารและอื่นๆสาเหตุของโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตเกิดจากหลอดเลือด สมองตีบ การอุดตันของหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดสมองแตก สาเหตุอื่นๆ เช่น อุบัติเหตุ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    ถาม : รัตน์/กรุงเทพฯอาหารเสริมที่มีขายกันทั่วไป ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถกินได้หรือเปล่าคะ มีประโยชน์ต่อร่างกายจริงหรือไม่ตอบ : นพ.เทพ หิมะทองคำปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลยืนยันได้อย่างแน่ชัดว่า การกินอาหารเสริม หรือแม้แต่สมุนไพร จะช่วยลดระดับน้ำตาลให้เป็นปกติได้ แม้ว่าอาหารเสริมบางชนิดจะมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ในปัจจุบันโรคหัวใจขาดเลือดเป็นสาเหตุของการตายอันดับต้นๆ ของคนไทย ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันเลือดสูง และการสูบบุหรี่ ซึ่งทั้งหมดเป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ โคเลสเตอรอล (cholesterol) เป็นไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายใช้สร้างเป็นเยื่อบุเซลล์ สร้างเป็นฉนวนหุ้มเส้นประสาท สร้างฮอร์โมนต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    บรรยากาศห้องตรวจเต็มไปด้วยเสียงโครมคราม เพราะน้องปรีเปิดประตูเข้าออก กระโดดขึ้นกระโดดลงสนุกสนานวันนี้มากันทั้งบ้าน คุณพ่อคุณแม่ คุณปู่และคุณย่า ก็หลานชายคนโปรด และเป็นลูกชายคนเดียวของคุณพ่อคุณแม่ ใครจะอยู่เฉยได้เมื่อคิดว่า “น้องปรี” ควรจะมาพบจิตแพทย์น้องปรีอายุ ๒ ขวบครึ่ง สูงมากเลยทำให้ดูผอม ทั้งๆที่น้ำหนักตัวก็เหมาะสมกับอายุ แต่ถ้าเทียบกับความสูงแล้วมองเห็นแขนขาเก้งก้างไปหมด ...