อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 191 มีนาคม 2538
    ตำลึง : ผักพื้นบ้านที่รู้คุณค่าได้จากชื่อ“พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง”ข้อความที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นคำพังเพยของคนไทยโบราณ ซึ่งคนไทยสมัยนี้ไม่ค่อยจะได้ยินหรือนำมาใช้กันบ่อยนัก ความหมายของคำพังเพยบทนี้ก็คือ บางครั้งการพูดมีค่าน้อยกว่าการไม่พูด (นิ่งเสีย) อย่างมากมาย โดยเปรียบเทียบจากค่าของเงินที่ใช้กันในสมัยนั้นคือ สองไพเบี้ยกับตำลึงทอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 191 มีนาคม 2538
    เล็ก ๆ น้อย ๆทุกวันนี้เกษตรกรบางกลุ่มเริ่มหันมาผลิตพืชผักปลอดสารพิษเพื่อป้อนให้กับผู้บริโภคที่ต้องการสินค้าปลอดสารพิษ และเป็นเพราะได้เห็นโทษของการใช้สารพิษอย่างมากมาย จึงได้เปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตผู้บริโภคเป็นผู้ที่สามารถกำหนดตลาดการผลิตได้ ที่พูดเช่นนี้เพราะว่าหากผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าปลอดสารมากขึ้น ผู้ผลิตที่เคยปลูกแต่ผักที่ใช้สารพิษก็จะรู้ว่าต่อไปสินค้าของเขาผู้บริโภคไม่ต้องการ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    ผักไห่ : ผักไทยโบราณที่ลูกหลานไม่รู้จัก“โอกาสหน้าพี่จะมาหาใหม่ไม่ลืมคนชื่อวิไล บ้านผักไห่อยุธยา...”เนื่องจากคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ตอนนี้เขียนเพื่อตีพิมพ์ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งมีวันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งความรักอยู่ในเดือนนี้ด้วย ผู้เขียนจึงถือโอกาสนำเอาเนื้อเพลงรักของชาวชนบทไทย(เพลงลูกทุ่ง)มาฝากท่านผู้อ่าน เพลง ลูกทุ่งเพลงนี้ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    ก๋วยเตี๋ยวหลอดเมื่อเอ่ยถึงก๋วยเตี๋ยวหลอด หลายคนต้องร้องอ๋อเพราะรู้จักดี และอร่อยถูกปากอีกด้วย แต่อาจมีหลายคนที่กินเป็น แต่ทำไม่เป็น ซึ่งผู้เขียนเองตอนแรกก็ทำไม่เป็น ก็ได้พี่ที่หมอชาวบ้านเป็นคนลงมือทำ และสอนให้ผู้เขียนทำเป็นจนได้ ผู้เขียนจึงอยากให้ผู้อ่านลองฝึกทำกินกันเองบ้าง เพราะไม่ยากเลย มิหนำซ้ำกรรมวิธีในการทำยังสะอาดทุกขั้นตอน เข้าครัวตามผู้เขียนมาได้เลยค่ะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    ผักบุ้ง : ผักพื้นบ้านยอดนิยมตลอดกาล“น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง”ข้อความที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นสำนวนไทยที่ใช้กันมาแต่ครั้งโบราณ มีความหมายเปรียบเทียบถึงคำพูด(หรือข้อเขียน)ที่มีปริมาณคำพูด(หรือตัวหนังสือ)มากมาย แต่มีเนื้อหาสาระน้อยนิดเดียว ปัจจุบันสำนวนนี้มักใช้กันสั้นๆว่า “น้ำท่วมทุ่ง” ทำให้คนไทยรุ่นใหม่หลายคนไม่ทราบถึงที่มาของสำนวนนี้ว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    5สหายทอดกรอบเห็นหน้าตาอาหารจานนี้แล้วอย่าเพิ่งคิดว่าเป็นเนื้อนะคะ เพราะทั้งหมดที่เห็นนั้นเป็นผักค่ะ5 สหายทอดกรอบก็คือ ผัก5 ชนิดชุบแป้งทอดนั่นเองเมื่อยังเด็กดิฉันจำได้ว่าไม่ชอบกินผักเลย แม่ต้องทั้งบังคับทั้งขู่ทั้งปลอบให้กินอย่างไรก็ไม่ได้ผล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    9อ. สู่วิถีชีวิตใหม่ และสุขภาพ“อาโรคฺยาปรมา ลาภา”สุขภาพเป็นปัจจัยพื้นฐานแห่งชีวิตและความสำเร็จ จึงเป็นสิ่งยอดปรารถนาของมนุษย์ทุกคน ดังคำอวยพรในแทบทุกโอกาสที่มักจะกล่าวถึงความสุขและอายุมั่นขวัญยืน อีกทั้งยังมีเรื่องราวเกี่ยวกับยาอายุวัฒนะที่เล่าลือมาแต่โบราณในแทบทุกสังคมในปัจจุบัน ผู้คนจำนวนไม่น้อยต่างก็ตื่นตัวในเรื่องนี้ บ้างถึงกับเสียเงินซื้อหา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ข้าวมธุปายาสคุณคงเคยคุ้นหูกันมาบ้าง สำหรับชาวพุทธกับชื่อข้าวมธุปายาส เพราะว่าครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล นางสุชาดาผู้เลื่อมใสในพุทธศาสนาได้ปรุงข้าวมธุปายาสถวายแก่พระพุทธเจ้า เวลาล่วงเลยมา ๒,ooo กว่าปีแล้ว ข้าวมธุปายาสก็ยังเป็นข้าวที่มีผู้ปรุงเพื่อกินอยู่กรรมวิธีการปรุงข้าวมธุปายาสมีหลายขั้นตอน เพราะก่อนปรุงต้องทำให้เครื่องปรุงทุกอย่างสุกเสียก่อน แล้วจึงนำมาปรุงรวมกันอีกครั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    จิก : ผักพื้นบ้านดอกงามจากป่าหิมพานต์ลิงลมเอย มาอมข้าวพองเด็กน้อยทั้งสอง มาทัดดอกจิกบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงร้องประกอบของเด็กภาคกลางในอดีต ชื่อเพลง “ลิงลม” ใช้ร้องประกอบการเล่นที่เรียกว่า “ลิงลม” เช่นเดียวกัน การที่เลือกเนื้อเพลงตอนนี้มา ก็เพราะมีข้อความบรรยายถึงเด็กสองคนนำดอกจิกมาทัด (หู)เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่าน(โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่)เมื่อเห็นชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ลักษณะของนิ้วมือการแพทย์จีนเชื่อว่าความแข็งแรงของพลังม้าม(ในทัศนะของแพทย์จีน) มีผลกระทบต่อสมรรถนะของมือโดยตรง นอกจากนี้นิ้วทั้งห้ายังสามารถสะท้อนสภาพความแข็งแรงของร่างกายตามขั้นตอนของวัยที่แตกต่างกัน คือ (ตารางที่ 1)การดูลักษณะของนิ้วนั้นที่สำคัญคือ ดูความสั้นยาว ความตรง ความคด ความอ่อน ความแข็ง สีของนิ้วมือ เป็นต้น ลักษณะต่างๆ ...