อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ฟักทอง : สุดยอดผักผลโตแต่โบราณ…คนชั้นต่ำอึดอยู่อึดกิน บนดินแดนอีสานอดอยากเก็บหมากไม้ หมากอึ หมากแตง เอามาแกงกินแลงต่างข้าว… บทเพลงที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นเนื้อร้องท่อนหนึ่งของเพลงชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 208 สิงหาคม 2539
    ทำอย่างไรจึงจะสูงหนูอายุ ๑๗ ปี สูง ๑๕o เซนติเมตร ในครอบครัวหนูมีพี่น้อง ๕ คน หนูเป็นคนที่ ๔ ซึ่งหนูเตี้ยที่สุด ส่วนใหญ่พี่เลี้ยงของหนูจะสูงไม่ต่ำกว่า ๑๕๘ เซนติเมตร โดยเฉพาะน้องคนสุดท้องสูง ๑๖๖ เซนติเมตรมีข้อสงสัยอยากจะถามดังนี้๑.หนูเคยได้ยินข่าวว่าผู้หญิงที่มีประจำเดือนแล้วจะหยุดการเจริญเติบโตจริงหรือไม่๒.ถ้าหนูอยากสูงโดยธรรมชาติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 208 สิงหาคม 2539
    ฟัก : ผักเนื้อเย็นผิวนวลใย“ให้เย็นเหมือนฟักหนักเหมือนแฟงให้อยู่เหมือนก้อนเส้าเฝ้าเรือนเหมือนแววคราว”ข้อความข้างบนนี้เป็นคำให้พรเด็กในพิธีลงอู่ของเด็กไทยสมัยก่อน หากกล่าวให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ พิธีนำเด็กลงนอนในเปลนั่นเอง คำให้พรที่ยกมานี้ เสถียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน) กล่าวว่า คงจะเป็นพรเก่าแก่มาก เพราะเป็นถ้อยคำไทยเดิมอย่างง่ายๆ เช่น ฟัก แฟง ก้อนเส้า และแมวคราว เป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    กระเทียม : อาหารและสมุนไพร ของแท้ที่เป็นสากล “ยอดเยี่ยม กระเทียมดอง”สำนวนภาษาไทยกลางเก่ากลางใหม่ข้างต้นนี้ ผู้อ่านหลายท่านคงเคยได้ยินหรืออาจเคยใช้ด้วยตนเองมาก่อน และคนไทยส่วนใหญ่ก็เข้าใจความหมายของสำนวนนี้ได้ดีว่า สิ่งที่กล่าวถึงนั้นมีคุณสมบัติดีขนาดไหน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 206 มิถุนายน 2539
    น้ำดื่มไม่ใช่อาหารและยารักษาโรคเชื่อกันว่าสิ่งมีชีวิตพัฒนามาจากสัตว์เซลล์เดียวในน้ำ ร่างกายของมนุษย์จึงมีส่วนประกอบที่เป็นน้ำมากถึงร้อยละ 6o ซึ่งกระจายอยู่ในเซลล์และนอกเซลล์ ด้วยอัตราส่วนที่แตกต่างกันเล็กน้อย เนื่องจากน้ำเหล่านี้ถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยทางปัสสาวะ ทางผิวหนัง (เช่นเหงื่อ) การหายใจ น้ำตา น้ำลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 205 พฤษภาคม 2539
    อาหารไทย4 ภาค วัฒนธรรมไทยเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก ทั้งในเรื่องความสวยงาม วิจิตรพิสดาร ความอ่อนช้อย แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัวของไทย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความละเอียด พิถีพิถัน ประณีต ยากที่จะหาชาติอื่นเทียบเทียมอาหารไทยก็เช่นเดียวกัน เพราะนอกจากรสชาติที่หลากหลายถูกปากคนชาติต่างๆแล้ว ยังมีคุณค่าทางโภชนาการ และจุดเด่นในการเป็นยารักษาโรคด้วยวัฒนธรรมกินอาหารพื้นเมืองของไทยนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 เมษายน 2539
    มหกรรมเกษตรอาหารปลอดสารพิษ 5-7 เมษายน 2539เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก ซึ่งเคยจัดสมัชชาเกษตรทางเลือกเมื่อปี 2535 กำลังจะจัดการประชุมใหญ่เป็นครั้งที่ 2 ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งชาติในวันที่ 5-7 เมษายน 2539 ข้อใหญ่ใจความของเรื่องนี้ก็คือ ถ้าคนเราในเมืองกินอาหารปลอดสารพิษ นอกจากชีวิตจะปลอดภัยแล้วจะช่วยถักทอธรรมชาติ คือป่าไม้ ต้นน้ำลำธาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 เมษายน 2539
    อาหารที่เรากินทุกวันนี้ล้วนแต่มีส่วนผสมของน้ำตาลอยู่ ทั้งที่มีโดยธรรมชาติในตัวอาหารหรือที่มนุษย์เราแต่งเติมลงไป น้ำตาลที่กล่าวถึงนี้ส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่เรียกว่า ซูโครส ซึ่งพบมากในน้ำตาลอ้อย ในน้ำตาลมะพร้าว และน้ำตาลทรายขาวในผักและผลไม้จะมีน้ำตาลกลุ่มที่เรียกว่าฟรักโทสและกลูโคส ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 เมษายน 2539
    ต้มข่าไก่สับปะรด เครื่องปรุงสับปะรด กะทิ ตะไคร้ ใบมะกรูด ข่าอ่อน พริกขี้หนูแห้ง หรือพริกชี้ฟ้าแห้ง พริกขี้หนูสด มะนาว น้ำปลา ผักชีฝรั่ง ผักชีลาว เห็ดฟาง เนื้อไก่วิธีปรุง1. นำพริกชี้ฟ้าแห้งมาย่างไฟให้หอม2. นำกะทิมาต้มให้แตกมันหรือพอเดือด แล้วจึงใส่ตะไคร้ ใบมะกรูด ข่าอ่อน เนื้อไก่ พอเนื้อไก่สุก ใส่สับปะรด เห็ดฟาง3. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 เมษายน 2539
    ข่าอีกรสชาติของความร้อนแรงในเครื่องแกงไทย“ขิงก็รา ข่าก็แรง”สำนวนในภาษาไทย ที่ยกมาข้างต้นนี้เป็นสำนวนไทยดั้งเดิมอีกบทหนึ่งซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 อธิบายว่า หมายถึง “ต่างก็จัดจ้านพอ ๆ กัน ต่างก็มีอารมณ์ร้อนพอ ๆ กัน ต่างไม่ยอมลดละกัน” ความหมายของสำนวนนี้คนไทยสมัยก่อนเข้าใจกันดี และนำมาใช้กันเสมอ นับได้ว่าเป็นสำนวนยอดนิยมบทหนึ่ง ...