ออกกำลังกาย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 346 กุมภาพันธ์ 2551
    ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล๕ ท่าออกกำลังเสี่ยงเจ็บทุกครั้งที่ผู้เขียนรับผู้ป่วยใหม่ที่บาดเจ็บจากการกีฬาหรือการออกกำลังกาย นอกจากการซักประวัติและตรวจร่างกายตามมาตรฐานวิชาชีพกายภาพบำบัดแล้ว ผู้เขียนมักจะถามผู้ป่วยอยู่เสมอว่าคุณเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายไปเพื่ออะไร ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่เล่นกีฬาหรือออกกำลังกายต้อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 345 มกราคม 2551
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านเทคนิคโยคะอื่นๆกับอนามัยในช่องคอต่อมทอนซิลทั้ง ๒ ข้าง คล้ายยามยืนเฝ้าข้างละคน เมื่อต่อมทอนซิลติดเชื้อ การอักเสบจะกระจายไปยังกล้ามเนื้อทั่วบริเวณคอช่องคออายุรเวทเรียกช่องคอว่า สัตตบาท หมายถึง จัตุรัส ที่เปิดไปสู่ถนน ๗ สาย (สัตตะหมายถึง ๗ และ บาทก็คือทางเท้าหรือทางเดิน) อันได้แก่ รูจมูก ๒ รู ทางเดินไป สู่หูส่วนกลาง ๒ ช่อง หลอดอาหาร หลอดลม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 344 ธันวาคม 2550
    นพ.บรรลุ ศิริพานิชผู้สูงอายุออกกำลังกาย อะไรบ้างสมรรถภาพของร่างกายไม่ว่าความแข็งแรงหรือความทนทาน ความว่องไว เป็นต้น จะมีสูงสุดเมื่ออายุประมาณ ๓๐ ปี แล้วจะค่อยลดลงร้อยละ ๑ ทุกปี ดังนั้น เมื่ออายุ ๖๐ ปีแล้ว จะมีความแข็งแรงลดลงร้อยละ ๓๐ เมื่ออายุ ๓๐ ปีโดยเฉลี่ย การออกกำลังกายจะสามารถชะลอการลดลงของความแข็งแรงได้จำนวนหนึ่งเท่านั้น ผู้สูงอายุจำเป็นต้องออกกำลังอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 344 ธันวาคม 2550
    ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดลพลังงานกับกิจกรรมทางกายกิจกรรมทั้งหลายที่เราท่านทำอยู่ทุกวันต้องใช้พลังงานทั้งสิ้น กิจกรรมใดหนักหรือเบา วิธีคำนวณพลังงานจากกิจกรรมทำอย่างไร หา คำตอบได้จากฉบับนี้ การวัดพลังงานจากกิจกรรมต่างๆวิธีการวัดการพลังงานที่ใช้ไปของร่างกายจะแบ่งได้ ๒ วิธี๑.การวัดโดยตรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 343 พฤศจิกายน 2550
    นพ.บรรลุ ศิริพานิชการออกกำลังกายที่ถูกต้องการออกกำลังกายที่มีผลทำให้หัวใจและปอดทำงานมากขึ้น เรียกการออกกำลังนี้ว่าแอโรบิก (aerobic แปลว่า อากาศ) จึงมีการเรียกการออกกำลังกายด้วยการเต้นจนหัวใจและปอดทำงานมากขึ้นว่า การเต้นแอโรบิกการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ประกอบด้วย ๓ขั้นตอนดังนี้ขั้นตอนที่ ๑ การอุ่นร่างกายก่อนที่รถยนต์จะออกวิ่ง ควรมีการอุ่นเครื่องก่อนฉันใด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 343 พฤศจิกายน 2550
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านเทคนิคโยคะอื่นๆ อนามัยในช่องคอและจมูกนอกจากอาสนะ ปราณยามะ ซึ่งเป็นเทคนิคหลักของโยคะที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีเทคนิคโยคะอื่นๆ ที่สามารถนำมาใช้ในทางบำบัด ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างกระบวนการจัดปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงที่เราจะกล่าวถึงต่อไปชลเนติ (หรือตามตำราดั้งเดิมควรจะเรียกว่า ชลกะปาละภาติ)ตำราดั้งเดิมอธิบายวิธีการไว้ ๒ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    นพ.บรรลุ ศิริพานิชออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ คือการที่ร่างกายมีการหดยืดกล้ามเนื้อและข้อต่อ มีการเคลื่อนไหวทำให้ เกิดการใช้อาหารและออกซิเจนในร่างกายเพิ่มขึ้นไปจากธรรมดา และมีความอภิรมย์ในชีวิตประจำวันการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นการออกกำลังกายที่เพิ่มขึ้นไปจากธรรมดา เพื่อให้ร่างกายเกิดความสมบูรณ์แข็งแรง และเกิดความอภิรมย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 340 สิงหาคม 2550
    โยคะกวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านการฟื้นฟูกลไกกาย-ใจ ปราณายามะ อุชชายีนอุชชายี เราหายใจเข้าผ่านทั้ง ๒ รูจมูก โดยเป็นการหายใจด้วยทรวงอก ผู้ฝึกขยายทรวงอกเพื่อให้ลมหายใจเข้าไปตามธรรมชาติ ระหว่างการหายใจเข้า โน้มฝาปิดกล่องเสียง (epiglottis) ลงบังหลอดลมส่วนหนึ่ง เหลือเป็นช่องเล็กๆ พอให้ลมหายใจไหลผ่านไปได้ การโน้มฝาปิดกล่องเสียงลงปิดหลอดลมเพียงบางส่วนแบบนี้นี่เอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 สิงหาคม 2550
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านบทที่ 3 การปรับสภาพกลไกกาย- จิตสัมพันธ์ความสำคัญของ ปราณายามะปราณายามะเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในโยคะ สำคัญขนาดตำราโบราณหลายๆ เล่ม ระบุว่า ไม่มีการฝึกใดจะสำคัญไปกว่าปราณายามะ โดยเฉพาะในแง่ของการชำระล้างกาย-ใจให้บริสุทธิ์ ยกตัวอย่างจากตำราหฐประทีปิกะบทที่ 3 ประโยคที่ 37 "ปราณายามะโดยตัวมันเอง เพียงพอต่อการชำระ มาละ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 339 กรกฎาคม 2550
    การฟื้นฟูกลไก กาย-ใจ ปราณายามะ (อนุโลม วิโลม)กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านลักษณะเฉพาะเจาะจงของการหายใจแบบปราณายามะอีกประการคือ ให้ความใส่ใจกับลมที่ผ่านรูจมูกแต่ละข้าง โดยส่วนใหญ่ ลมหายใจของรูจมูกซ้าย และรูจมูกขวาชัดไม่เท่ากัน กล่าวคือ รูจมูกข้างหนึ่งอาจะจะตันกว่า ขณะที่รูจมูกอีกข้างโล่งกว่าแล้ว กรณีนี้ไม่ใช่เหตุบังเอิญ แต่มีเหตุผลทางสรีรวิทยาประกอบอยู่ ...