อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 223 พฤศจิกายน 2540
    ถั่วเขียว คุณค่าสีเขียวจากธรรมชาติ“ใหญ่ น้ำ ไม่งอก”คำพูดข้างบนนี้ เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่านคงเคยได้ยินมาบ้าง และอาจจำได้ว่าเป็นคำพูดที่ใช้กันในร้านก๋วยเตี๋ยว ระหว่างคนดินโต๊ะกับผู้ปรุง นับว่าเป็นภาษาเฉพาะของร้านก๋วยเตี๋ยวที่เกิดขึ้นเพื่อประหยัดคำพูดและเวลา แต่สามารถสื่อความหมายได้ครบถ้วน หากจะแปลก็คงได้ความว่า “ลูกค้าสั่งก๋วยเตี๋ยวน้ำเส้นใหญ่ไม่ใส่ถั่วงอก” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    ถั่วเหลือง พืชพื้นบ้านที่เป็นอนาคตของมนุษยชาติในบรรดาอาหารของมนุษย์โลกปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่ามาจากพืชเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อพิจารณาพืชที่นำมาใช้เป็นอาหาร ก็พบว่ามาจาก ๒ กลุ่มสำคัญ คือ พืชจำพวกหญ้า เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ฯลฯ และจำพวกถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ฯลฯ เป็นต้น ในพืชจำพวกหญ้านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 221 กันยายน 2540
    ถัวแปบ ผักพื้นบ้านชื่อไทยโบราณในบรรดาผักพื้นบ้านดั้งเดิมของชาวไทยนั้นมีหลายชนิดที่เรียกชื่อด้วยถ้อยคำในภาษาไทยแท้ บ่งบอกลักษณะพิเศษที่เด่นมากของผักชนิดนั้นๆ เช่น ถั่วพู มีคำว่าพู แสดงลักษณะเด่นของฝัก ผักไห่ มาจากคำว่าไห บ่งบอกลักษณะทรงผลมะระพื้นบ้าน(ผักไห่) หรือน้ำเต้า มีคำว่า เต้า เป็นลักษณะของผลน้ำเต้าที่คล้ายเต้า (เช่น เต้านม) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    แม่ พลังแห่งความรักคนที่รักแม่มากๆ เป็นคนเลวไม่ได้เพราะไม่มีความรักใดๆ ในโลกที่ยิ่งใหญ่กว่าความรักของแม่ที่มีต่อลูก ในยามที่โลกแล้งรัก เพราะความอักเสบที่เกิดจากวัตถุนิยม บริโภคนิยมที่เกินเลย จิตใจมนุษย์ก็จะระส่ำระส่าย เพราะธรรมชาติของจิตใจมนุษย์ขาดความรักไม่ได้ ถ้าไม่รักใครและไม่มีใครรัก มนุษย์จะกลายเป็นคนเจ็บป่วย เมื่อเจ็บป่วยแล้วหันไปรักษาด้วยวิธีผิดๆ เช่น ยาเสพติด ยาบ้า ยาอี มั่วทางเพศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    สะตอ ผักพื้นบ้าน กลิ่นแรงของภาคใต้ชื่อวิทยาศาสตร์ Parkia speciosa Hassk. ชื่ออื่น กอตอ, ลูกตอ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน จัดให้สะตอเป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Leguminosae ซึ่งเป็นไม้จำพวกที่มีฝัก เช่นเดียวกับกระถิน ทองหลาง ถั่ว แต่ในหนังสือบางเล่มก็จัดสะตออยู่ในวงศ์ Mimosaceae คือ เป็นไม้ตระกูลเดียวกับไมยราบ จามจุรี สะตอเป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงเฉลี่ยได้ถึง ๓๐ เมตร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    ถั่วพู ถั่วพื้นบ้านที่โลกกำลังจับตามองผู้อ่านที่ติดตามคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” มาเป็นเวลาไม่ต่ำกว่าหนึ่งปี คงได้อ่านเรื่องราวของผักพื้นบ้านชนิดต่างๆ ไปแล้วเกินกว่าสิบชนิด ทั้งที่เป็นผักพื้นฐานดั้งเดิมของไทยเองและที่รับมาจากภายนอกแล้วปรับตัวกลายเป็นผักพื้นบ้านไปในภายหลัง เรื่องราวของผักพื้นบ้านไทยต่างๆ เหล่านี้นอกจากจะชี้ให้เห็นความร่ำรวยทางพันธุกรรมพืช หรือเรียกในภาษาปัจจุบันว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    เจาะลึก แพทย์แผนไทยกับพุทธศาสนา“ก่อนอื่นผู้เขียนต้องขอเรียนท่านผู้อ่านให้ทราบว่า การแพทย์แผนไทยมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างแยกไม่ออก หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของพุทธศาสนาก็ว่าได้ ผู้เขียนจึงจำเป็นต้องนำเสนอระบบการแพทย์แผนไทยตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งรูปแบบอาจยากสักหน่อยสำหรับคนรุ่นใหม่ แต่ไม่ยากสำหรับความเข้าใจ”พุทธพจน์บ่งชี้ว่า “อาหารเป็นพาหะนำโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    สมาธิ พิชิตความปวดคุณอรทัย ชัยฐานียชาติ เคยป่วยเป็นมะเร็งเต้านม และได้รับการผ่าตัดแล้วเธอเป็นผู้ที่แพ้ยาทุกชนิดในการผ่าตัด เธอจึงเจ็บปวดจากแผลผ่าตัดมาก แต่เธอใช้วิธีทำสมาธิเพื่อระงับความปวด และได้ผลอาการปวดลดลง ตามที่ “หมอชาวบ้าน” เคยสัมภาษณ์เรื่องราวของเธอลงในคอลัมน์เปลี่ยนชีวิต ฉบับ ๒๑๕ มีนาคม ๒๕๔๐ แล้วนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    สะระแหน ผักต่างแดนที่โอนสัญชาติและเปลี่ยนชื่อเป็นไทยในบรรดาผักชนิดต่างๆ ที่ชาวไทยรู้จักและคุ้นเคยอยู่ในปัจจุบันนี้นั้น มีอยู่หลายชนิดที่คนไทยส่วนใหญ่คิดว่าเป็นผักพื้นบ้านดั้งเดิมและมีกำเนิดอยู่ในประเทศไทยแต่ความจริงเป็นผักที่นำเข้ามาจากต่างประเทศนานมาแล้วบ้าง หรือเพิ่งนำเข้ามาไม่นานนักบ้าง แต่การนำเข้ามานั้นกระทำอย่างไม่เป็นทางการหรือไม่มีบันทึกเป็นหลักฐานเอาไว้อย่างชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    วิ่งสู่สภาวะนิรันดร์ 7 (ต่อ) เอาจิตไว้ที่ไหนขณะวิ่งผมวิ่งมาเป็นเวลาช้านานจึงมีประสบการณ์ทั้งทางกายและทางจิต เรื่องทางกายได้เล่าไปบ้างแล้วในตอนก่อน เรามีทั้งกายและจิต คำถามก็คือ ขณะวิ่งเอาจิตไว้ที่ไหน เราอาจวางจิตไว้ได้ต่างๆ กัน แล้วแต่สภาพและความต้องการ ดังต่อไปนี้ในภูมิประเทศที่อาจมีอันตรายมีสติเฉพาะหน้าหากวิ่งในภูมิประเทศที่อาจมีอันตราย เช่น จากการตกหลุม ตกบ่อ เหยียบก้อนหิน สุนัข งู รถยนต์ ...