อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 239 มีนาคม 2542
    ช่วงปลายเดือนมกราคมต่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ ผู้เขียนมีภารกิจต้องเดินทางไปประเทศอินโดนีเซียเป็นเวลา ๒ สัปดาห์ ในฐานะตัวแทนจากประเทศไทยในคณะค้นหาความจริง (FACT-FINDING TEAM) เกี่ยวกับสภาพความขาดแคลนอาหารในประเทศอินโดนีเซียเนื่องจากข้อมูลที่ได้รับจากสื่อมวลชนชนิดต่างๆ (เช่น หนังสือพมพฺ โทรทัศน์ ฯลฯ) กับข้อมูลที่ได้รับตรงๆจากองค์กรที่ทำงานอยู่ในประเทศนั้นค่อนข้างขัดแย้งกัน กล่าวคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 238 กุมภาพันธ์ 2542
    บทเพลงที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นบทหนึ่งที่วงกลองยาวของไทยนิยมขับร้องประกอบการรำกลองยาวมาเนิ่นนาน จนเชื่อว่าท่านผู้อ่านคอลัมน์ ต้นไม้ใบหญ้าส่วนใหญ่คงเคยได้ยินเพลงบทนี้มาแล้ว และอาจร้องได้อีกด้วย น่าสังเกตว่าเพลงบทนี้เลือกเอาผลไม้ที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างกันมานำเสนอ ทั้งลักษณะผลกลม (มะนาว) ผลยาว(มะดัน) และผลสั้น (พุทรา) โดยให้มีสัมผัสคล้องจองกันระหว่างคำ(นาว-ยาว และดัน-สั้น) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 237 มกราคม 2542
    คอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ตอนนี้ผู้เขียนตั้งใจให้ลงพิมพ์ในเอนมกราคมอันเป็นเดือนแรกของปี พ.ศ.๒๕๔๒ เพราะต้องการส่งท้ายปี ๒๕๔๑ ที่ผ่านมาด้วยผักพื้นบ้านที่เหมาะสมกับปีดังกล่าวให้มากที่สุดปี พ.ศ. ๒๕๔๑ อาจะเรียกได้ว่าเป็นปีที่ประเทศไทย กลายเป็น “เสือลำบาก” ในปีขาล ซึ่งมีสัญลักษณ์เป็นเสือ หรือมองอีกมุมหนึ่งก็เห็นได้ว่าประเทศไทยกำลังได้รับผลจากการพยายามมาหลายปี เพื่อจะเป็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 236 ธันวาคม 2541
    การมีสุขภาพที่แข็งแรงเป็นยอดปรารถนาของทุกคนในยุคนี้ เราต่างรู้ดีว่าหนทางสู่สุขภาพดีมีปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งคือการออกกำลังกาย แต่การออกกำลังกายแบบไหนเล่าจึงจะสมบูรณ์ที่พูดอย่างนี้ เพราะเรามีทางเลือกหลายอย่างในการออกกำลังกาย อย่างที่นิยมกันมากก็มี วิ่งเหยาะ(จ๊อกกิ้ง), เดิน, ปั่นจักรยาน, ว่ายน้ำ, เต้นแอโรบิก, รำมวยจีน, โยคะ ยังไม่นับรวมไปถึงการออกกำลังตามศูนย์ฟิตเนสที่มีเครื่องยกน้ำหนักแบบต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 236 ธันวาคม 2541
    เมื่อเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจในเมืองไทย ตั้งแต่กลาง ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา คอลัมน์ ‘ต้นไม้ใบหญ้า’ เคยพักการเขียนถึงผักพื้นบ้านเอาไว้หลายตอน โดยเปลี่ยนไปเขียนเรื่องความสำคัญของการทำสวนครัวหรือสวนหลังบ้าน เพราะเห็นว่าจะช่วยแก้ปัญหาได้มาก นอกจากนั้นยังมีประโยชน์ด้านอื่นๆอีกด้วย น่ายินดีที่รัฐบาล โดยกระทรวงเกษตรฯ เห็นความสำคัญของสวนครัว ได้จัดทำโครงการส่งเสริมให้เกษตรกรทำสวนครัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 235 พฤศจิกายน 2541
    ปีพุทธศักราช ๒๕๔๑ นับเป็นการกลับมาครบรอบของวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ อันส่งผลกระทบให้เกิดการส่งเสริมและฟื้นฟูการปลูกพืชผักสวนครัวขึ้นอีกครั้งหนึ่ง หลังจากมีการส่งเสริมอย่างจริงจังในสมัย จอมพลป.พิบูลสงคราม เมื่อกว่า ๕๐ ปีมาแล้ว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดทำโครงการ "ผักสวนครัว รั้วกินได้" ซึ่งมีคำขวัญว่า "ปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ ประหยัดรายจ่าย ปลอดภัยสารพิษ" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 234 ตุลาคม 2541
    “จ้ำจี้มะเขือพวง เมียน้อยเมียหลวงมาสอยดอกแค…”ข้อความที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นตอนต้นของเพลงร้องประกอบการเล่นของเด็กไทยภาคกลางในอดีต เรียกว่าเล่น “จ้ำจี้” ซึ่งมีเพลงประกอบหลายเพลง แต่ที่นิยมร้องมากก็คือ จ้ำจี้มะเขือพวง และจ้ำจี้มะเขือเปราะ เป็นต้น น่าสังเกตว่า เนื้อหาของเพลงที่เด็กนำมาขับร้องนั้น มักมาจากสิ่งที่พบเห็นและคุ้นเคยในสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม การทำมาหากิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 233 กันยายน 2541
    ในบรรดาผักพื้นบ้านดั้งเดิมของไทยที่มีมากมายนั้น ผู้เขียนรู้สึกผูกพันมากเป็นพิเศษเพียงไม่กี่ชนิด ด้วยเหตุผลแตกต่างกันไป เมื่อนำผักที่รู้สึกผูกพันเป็นพิเศษเหล่านั้นมาพิจารณาดูก็พบว่า เป็นผักที่มิได้มีคุณสมบัติดีเด่น หรือเป็นที่นิยมกันทั่วไปแต่อย่างใด แต่เป็นเพราะเข้ามาเกี่ยวข้องกับช่วงหนึ่งของชีวิตผู้-เขียนและทำให้เกิดความประทับใจในคุณสมบัติบางประการที่ไม่มีในผักชนิดอื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 232 สิงหาคม 2541
    ผมได้ไปเจาะเลือด ตรวจแล้วพบว่าเป็น “มะเร็งเม็ดเลือดขาว” จึงอยากทราบว่าโรคนี้เกิดจากอะไร แล้วจะแก้ไขอย่างไร ผู้ถาม กานต์/กรุงเทพฯ ผู้ตอบ น.พ.วันชัย วนะชิวนาวินถาม ผมอายุ ๒๘ ปี น้ำหนัก ๕๔ กิโลกรัม สูง ๑๖๖ เซนติเมตร อาชีพรับเหมารับจ้างทั่วไป เมื่อก่อนทำงานต้องเร่งงานเป็นประจำ ทำให้มีเวลากินเวลานอนไม่ค่อยเหมือนคนอื่นเขา บางครั้งยังต้องสังสรรค์ตามประสาผู้ชายบ่อยๆ เคยสูบบุหรี่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 232 สิงหาคม 2541
    "ไก่เอ๋ยไก่ เลี้ยงลูกจนใหญ่ ไม่มีนมให้ลูกกิน ลูกร้องเจี๊ยบๆ แม่ก็เรียกมาคุ้ยดิน ทำมาหากิน ตามประสาไก่เอย" บทดอกสร้อยที่ท่องจำมาตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาบทนี้จำไม่ได้แล้วว่าเป็นบทประพันธ์ของท่านใด แต่เป็นสิ่งประทับใจจากวัยเด็กอีกอย่างหนึ่งซึ่งผู้เขียนเชื่อว่าผู้อ่านหลายท่านก็คงรู้สึกเช่นเดียวกัน ความประทับใจคงเกิดจากการที่ท่านผู้แต่งนำการเลี้ยงลูกของไก่มาเปรียบเทียบกับการเลี้ยงลูกของคน ...