อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    แมงลัก : ผักพื้นบ้านน่ารักที่ไม่ใช่ตัวแมง“แมงอะไรเอ่ย ที่น่ารัก” คำทายข้างบนนี้ยังไม่เคยมีใครนำมาใช้ทายกันมาก่อน เนื่องจากเป็นคำทายที่ผู้เขียนเพิ่งคิดขึ้นก่อนเขียนบทความตอนนี้ไม่ถึงชั่วโมงและขอเฉลยตรงนี้เลยว่าคือ “แมงลัก”หัวใจของคำทายนี้อยู่ที่คำว่า “แมง” ซึ่งคนไทยสมัยก่อนทราบความหมายเป็นอย่างดี แต่คนสมัยนี้เริ่มเข้าใจน้อยลง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 214 มีนาคม 2540
    เด็กดื้อเงียบผมมีหลานชายอายุ11 ปี เวลาที่เขาทำอะไรไม่ถูกไม่ควร พอถูกตำหนิเขาจะเฉย ทำไม่รู้ไม่ชี้ ประเภทดื้อเงียบ บางครั้งเขาทำผิดหรือพูดจาโกหก ถ้าถูกจับได้เขาก็จะเถียงและยืนยันว่าถูกต้องแบบหัวชนฝา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 214 กุมภาพันธ์ 2540
    การหาความสุข8 วิธี โดยไม่ต้องใช้ยาเสพติดขณะนี้เขากำลังวิสามัญฆาตกรรมผู้ค้ายาม้าหรือที่เรียกว่ายาบ้ากันโครมๆ นอกเหนือไปจากยาม้ายังมีสารเสพติดอื่นๆอีกหลายอย่าง ตราบใดที่ยังมีผู้ต้องการเสพก็จะมีการผลิตและการขายยาเสพติดอยู่ร่ำไป การที่คนไปเสพยาเสพติดกันมากก็เพราะขาดแคลนความสุข จึงต้องไปหาสารอะไรที่มันจะให้ความสุขที่จริงในร่างกายมีสารที่ให้ความสุขอยู่แล้ว คือ สารพวกเอ็นโดฟินส์ (Endophins) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    รู้ตัวอยู่กับการเคลื่อนไหว : ศิลปะแห่งความสุข/ของฝากจากอเมริกา (ตอนที่ 4)ในช่วงเดือนสิงหาคม 2538 ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เพื่อร่วมประชุมสัมมนานานาชาติ (3rd World Congress of Medical Acupuncture and Natural Medicine) ซึ่งจัดโดย “มูลนิธิการแพทย์ ธรรมชาติแห่งโลก” (World Natural Medicine Foundation) ที่เมืองเอดมอนตัน ประเทศแคนาดา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 199 พฤศจิกายน 2538
    ท่านอนอันตรายมนุษย์ใช้เวลานอนนานถึงหนึ่งในสามส่วนของอายุขัย กล่าวคือปกติคนเราจะนอนวันละประมาณ 8 ชั่วโมงทารกเกิดใหม่อาจนอนมากกว่า 12 ชั่วโมงเด็กนอนวันละ 10-12 ชั่วโมงผู้ใหญ่นอน 8-10 ชั่วโมงและเมื่อมีอายุมากขึ้นเวลานอน จะน้อยลงตามลำดับการนอนเป็นการพักผ่อนกล้ามเนื้อที่ใช้งานมาตลอดวัน อิริยาบถต่าง ๆ ล้วนใช้กล้ามเนื้อเพื่อต่อสู้กับแรงโน้มถ่วงของโลกการนอนจึงเป็นท่าที่กล้ามเนื้อได้ผ่อนคลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 3)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคน ดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 2 : เป็นอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่ง ขณะกำลังยืนสอนนักเรียนแพทย์และแพทย์ประจำบ้านอยู่ข้างเตียงคนไข้ ก็เกิดอาการ “วูบ” ล้มลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 2)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสนจนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่ายเข้าใจง่ายเพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ในคนไข้รายแรกนี้จึงเป็นอาการวูบที่เกิดจาก “ภาวะความดันเลือดตกเมื่อเปลี่ยนท่า"(orthos-tatic hypotension) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 กรกฎาคม 2538
    ผิวแก่แดดสังขารร่างกายของคนเราย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามอายุที่มากขึ้น เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนโตเต็มที่เมื่ออายุประมาณ 25 ปี จะถึงจุดที่สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมลง คำกล่าวที่ว่า “ความเป็นหนุ่มสาวขึ้นอยู่ที่ใจ ส่วนอายุเป็นเพียงตัวเลข” นั้น คงจะหมายถึงหนุ่มสาวในความรู้สึกนึกคิด ไม่ได้หมายถึงสภาพร่างกาย เพราะในความเป็นจริงแล้วสภาพร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปตามอายุที่เพิ่มขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    ความเครียดและสุขภาพอะไรเอ่ย ดีใจก็เกิดได้ เสียใจก็เกิดได้ เกิดได้ทั้งเวลาประสบ ความสมหวังและผิดหวัง (เป็นภาวะอย่างหนึ่งของร่างกายและจิตใจ)คำตอบก็คือ การเกิดภาวะเครียดนั่นเองเนื่องจากความเครียดทำให้เกิดการตอบสนองของร่างกายได้เกือบทุกส่วน ทั้งอาการทางร่างกาย และอาการทางจิตใจ แต่ไม่จำเพาะ ตัวอย่างเช่น ปวดศีรษะ ปวดคอ ปวดหลัง ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ หัวใจสั่น หายใจขัด หายใจถี่ เหงื่ออกง่าย ตกใจง่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 เมษายน 2538
    นอนหลับยากอาการนอนไม่หลับหรือนอนหลับยากเป็นอาการที่พบมากที่สุดอาการหนึ่ง ในบรรดาอาการไม่สบายต่างๆ เช่น ปวดศีรษะ ตัวร้อน ปวดท้อง ท้องผูก ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน น้ำมูกไหล ไอ หอบ เป็นต้นอาการนอนไม่หลับหรือนอนหลับยากมักพบในคนสูงอายุ ความจริงแล้วปัญหานอนไม่หลับหรือนอนหลับยากพบได้เกือบทุกวัย(ยกเว้นเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปีซึ่งพบน้อย) บางคนนอนไม่หลับเพียงไม่กี่วัน เช่น คนที่เดินทางไปต่างถิ่น ...