อารมณ์

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 231 กรกฎาคม 2541
    ชื่อวิทยาศาสตร์ Basella rubra linn.ชื่ออื่น ผักปลังใหญ่ (ภาคกลาง) ผักปั๋ง (ภาคเหนือ) เหลาะคุ้ย (จีนแต้จิ๋ว) ลั่วขุย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 230 มิถุนายน 2541
    ในคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าที่ผ่านมาหลายตอนได้นำเสนอพืชตระกูลถั่วที่เป็นอาหารสำคัญของคนไทยและชาวโลก เช่นถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วพู ถั่วฝักยาว ฯลฯ เนื่องจากพืชตระกูลถั่วนับเป็นพืชที่มีมากเป็นอันดับสองรองจากพืชตระกูลหญ้า (เช่น ข้าว ข้าวโพด) นอกจากจะมากด้วยจำนวน (ชนิด) แล้ว พืชตระกูลถั่วยังมีคุณค่าต่อมนุษยชาติอีกชนิดหนึ่งในระดับโลก ซึ่งความสำคัญของถั่วชนิดนี้ในปัจจุบันจะเป็นรองก็แต่ถั่วเหลืองเท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 229 พฤษภาคม 2541
    จากการสำรวจของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขพบว่าคนไทยเครียดมากขึ้นเพราะปัญหาเศรษฐกิจรุมเร้า คือ คนภาคใต้เครียดร้อยละ ๘๘.๘๙ ภาคกลางร้อยละ ๘๒.๖๔ ภาคเหนือร้อยละ ๘๒.๓๕ ภาคอีสานร้อยละ ๙๔.๔๔เห็นตัวเลขแล้วชักเครียดแล้วสิ ทำไมคนไทยเครียดมากมายปานนี้เชียวหรือ บางคนรู้ตัวหรือเปล่าว่าตนเองเป็นโรคเครียด เอ! แล้วเราเป็นโรคเครียดด้วยหรือเปล่านะ ยิ่งคิดยิ่งรู้สึกเครียดแฮะ โอ้ย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 229 พฤษภาคม 2541
    เมื่อกล่าวถึงความเผ็ดร้อน ชาวไทยส่วนใหญ่จะพากันคิดถึงพริก เพราะชาวไทยเป็นนักบริโภคพริกชั้นแนวหน้าของโลก จนมีคำกล่าวกันว่า อาหารไทยจะขาดพริกเสียมิได้ ดังปรากฏเรื่องเล่ามากมายเกี่ยวกับคนไทยที่เดินทางไปต่างประเทศยุคแรกๆพากันนำเอาพริกติดตัวไปด้วยเสมอ เพราะหาซื้อพริกในต่างประเทศไม่ได้เหมือนในสมัยนี้แต่สำหรับชาวโลกส่วนใหญ่แล้ว เมื่อกล่าวถึงรสเผ็ดร้อนก็จะพากันนึกถึงพืชอีกชนิดหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 228 เมษายน 2541
    สวนครัวภาคปฏิบัติกิจกรรมที่มีแต่กำไรคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ได้นำเสนอเรื่องเกี่ยวกับสวนครัวติดต่อกันมา ๒ ฉบับแล้ว ตอนนี้เป็นครั้งที่ ๓ และคงเป็นตอนสุดท้ายในช่วงนี้ เพื่อกลับไปนำเสนอผักพื้นบ้านชนิดต่างๆ ต่อไป เหตุที่ต้องนำเสนอเรื่องเกี่ยวกับสวนครัวอีกตอนหนึ่งก็เพราะเห็นว่าทั้ง ๒ ตอนที่ผ่านมาเป็นเรื่องราวในทางทฤษฎีที่คงนำไปใช้ประโยชน์ได้น้อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 227 มีนาคม 2541
    สวนครัว การพึ่งตัวเองด้านอาหารอย่างยั่งยืนคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ฉบับที่แล้วได้นำเสนอเรื่อง “สวนครัว”ไปครั้งหนึ่งแล้ว โดยโยงกับประเด็นวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจของไทยในยุคไอเอ็มเอฟ และความมั่นคงทางอาหาร ในตอนนี้จะเสนอเรื่องเกี่ยวกับสวนครัวต่อจากฉบับที่แล้ว โดยจะเน้นด้านการพึ่งตนเองด้านอาหารอย่างชัดเจนซึ่งรวมทั้งในยามปกติด้วย มิใช่ทำกันเฉพาะยามวิกฤติเท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 226 กุมภาพันธ์ 2541
    โรคนับร้อยมีที่มาจากอารมณ์“คุณหมอคะ เวลาใกล้มีประจำเดือน หนูจะปวดแน่นเต้านมและชายโครง บางทีคลำได้ก้อน แต่พอหมดประจำเดือน ก้อนที่เต้านมก็หายไปค่ะ หนูจะเป็นมะเร็งหรือเปล่าคะ”“เวลาใกล้มีประจำเดือน หนูมักปวดหัวข้างเดียว แต่บางครั้งเวลาเครียดก็เป็นค่ะ หนูเป็นโรคไมเกรนหรือเปล่าคะ”“เวลามีประจำเดือน รู้สึกอยากกินของเปรี้ยว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 226 กุมภาพันธ์ 2541
    สวนครัว ความมั่นคงทางอาหารในยุคไอเอ็มเอฟคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ฉบับนี้คงแตกต่างจากตอนก่อนหน้าย้อนไปหลายสิบฉบับ หรือในรอบหลายๆ ปี เนื่องจากไม่ได้นำพืชชนิดต่างๆ มาเสนออย่างเคย ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจของประเทศไทย และประเทศอื่นๆ อีกหลายประเทศ กำลังอยู่ในภาวะผันผวน และทรุดหนักจนถึงขั้นเลวร้ายในระดับที่ไม่เคยเป็นมาก่อนในรอบหลายสิบปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 225 มกราคม 2541
    มะเขือเทศผักผลแนวหน้าระดับโลกในบรรดาผักชนิดต่างๆ ที่ได้เขียนลงคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” นี้ติดต่อกันมาหลายปีแล้วนั้น ผู้เขียนพยายามเลือกนำเสนอเฉพาะผักที่จัดได้ว่าเป็นผักพื้นบ้านของไทยเท่านั้น กล่าวคือ หากไม่เป็นผักที่มีกำเนิดดั่งเดิมอยู่ในดินแดนไทยเองแล้ว ก็ต้องเป็นผักจากต่างแดนที่เข้ามาปลูกในเมืองไทยนานจนปรับตัวกลายเป็นผักพื้นบ้านไปเลย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    ถั่วฝักยาว ผักผลพื้นบ้านยาวที่สุดในวงศ์ตระกูลคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าได้นำเสนอเรื่องราวของพืชพื้นบ้านชนิดต่างๆ ต่อเนื่องกันมาหลายปีแล้ว ตอนนี้คงเป็นครั้งแรกที่มีคำว่า “ที่สุด” ประกอบอยู่กับชื่อเรื่อง ซึ่งปกติผู้เขียนไม่นิยมใช้คำนี้เลย เพราะมีความเชื่อพื้นฐานตามหลักพุทธศาสนาว่า ทุกสิ่งล้วนไม่แน่นอน (อนิจจัง) จึงไม่น่าจะมีสิ่งใดสามารถใช้คำว่า “ที่สุด” ได้เลย ...