พฤติกรรมอันตราย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนข้อน่ารู้1. สันหลังของคนเราประกอบด้วยกระดูกสันหลังชิ้นย่อยๆกว่า 30 ชิ้นเรียงต่อกันเป็นแนวยาวจากต้นคอจรดก้นกบ โดยมีแผ่นเนื้อเยื่อที่เรียกว่า “หมอนรองกระดูกสันหลัง” (intervertebral disc) คั่นกลางรอยต่อระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละคู่ หมอนรองกระดูกนี้มีลักษณะยืดหยุ่นเพื่อช่วยให้สันหลังเคลื่อนไหวได้บ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ข้อปฏิบัติตอนตื่นนอนตราบใดที่มนุษย์ต้องการการนอนหลับ ตราบนั้นย่อมมีการตื่นนอน และเนื่องจากการนอนหลับมีอยู่หลายรูปแบบในภาวะต่างๆกัน เช่น นอนหลับบนเตียง นั่งสัปหงก ยืนหลับใน หลับเวลาทำงานหรือขับรถ การตื่นนอนในแต่ละภาวะจึงแตกต่างกันด้วยการตื่นนอนโดยทั่วไปเกิดขึ้นได้ใน2 ลักษณะ คือ การตื่นนอนเองและตื่นจากปัจจัยภายนอก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    ริดสีดวงทวารข้อน่ารู้1. ริดสีดวงทวาร หมายถึง กลุ่มหลอดเลือดดำขอดในบริเวณทวารหนัก อันเป็นผลมาจากแรงกดดันต่อหลอดเลือดดำในบริเวณนั้นนานๆ สาเหตุที่พบบ่อยก็คือ อาการท้องผูก หรือการนั่งเบ่งถ่ายนานๆเป็นประจำนอกจากนี้ยังอาจพบในหญิงตั้งครรภ์ คนที่มีอาการไอเรื้อรัง คนอ้วน ผู้ป่วยตับแข็ง ต่อมลูกหมากโต หรือมีก้อนเนื้องอกในช่องท้อง เป็นต้น โรคนี้จึงพบได้บ่อยในคนทั่วไป2. อาการสำคัญของโรคนี้ ก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    การลดไขมันหญิงสาวหน้าตาสวย รูปร่างอ้วน อายุประมาณ ๓๐ เศษ ก้าวเดินฉับๆเข้าไปในร้านหมอหญิง : “ดิฉันต้องการมาลดไขมันค่ะ”หมอ : “ไขมันที่ไหนครับ”หญิง : “อ้าว...หมอไม่รู้เหรอว่าเขาลดไขมันที่ไหน ก็ลดไขมันที่ท้อง สะโพก ต้นขา นี่แหละค่ะ สำคัญกว่าที่อื่น”หมอ : “ครับ ถ้าคุณจะลดไขมันที่ท้อง สะโพก และต้นขา คุณไม่ต้องหาหมอก็ได้ครับ เพราะการลดไขมันที่ท้อง สะโพก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ความเมื่อยล้าจากการทำงานอาการเมื่อยล้าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติหลังจากการทำงานทุกชนิด โดยเฉพาะงานที่ต้องออกแรงมาก เช่น การแบกหาม ยกของหนัก หรือการนั่งทำงานเป็นเวลานาน การทำงานต้องอาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อจึงจะเกิดแรงตามที่ต้องการได้ โครงร่างของมนุษย์ประกอบด้วย กระดูก ข้อต่อ ที่มีกล้ามเนื้อเกาะอยู่ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัว ข้อต่อจะเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อต่อนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    น้ำตาลและสารทดแทนความหวาน“อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย”เป็นบทกวีของท่านสุนทรภู่ ซึ่งเป็นที่รู้จักของชาวไทยเป็นอย่างดี แต่ถึงกระนั้น ความหวานจากอ้อยตาลในอาหารก็ยังเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของเราเสมอมานอกจากนี้ประเทศไทยก็ยังเป็นผู้ผลิตน้ำตาลรายใหญ่ในตลาดโลกรายหนึ่งอีกด้วยในระยะหลังนี้คนไทยได้มีการตื่นตัวตามนักวิชาการในประเทศที่พัฒนาแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    วุ้นสำเร็จ และขนม เยลลี่ถ้าท่านเป็นแฟนการ์ตูนทางโทรทัศน์ตอนเช้าวันหยุด ก็คงมีโอกาสได้ชมโฆษณาขนมปังเด็กที่มีลักษณะนุ่มและยืดหยุ่นเป็นวุ้นเหนียวๆ หลายยี่ห้อ นอกจากนี้ในท้องตลอาดก็ยังมียี่ห้อที่ยังไม่เคยโฆษณาอีก และยังได้ทราบว่าบางยี่ห้อก็กำลังเตรียมตัวออกสู่ตลาดเลยทำให้นึกถึงความนิยมของเด็กและวัยรุ่นไทยสมัยใหม่ต่อผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ว่ามีมากเพียงไรขนมลักษณะทำนองนี้ก็ไม่แข็ง เป็นของใหม่สำหรับคนไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    เกลือไอโอดีนเชื่อว่าใครๆ ก็รู้จักเกลือกันอยู่แล้ว ก็เกลือที่ใช้ปรุงรสอาหารไงล่ะ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ “เกลือแกง” ถ้าจะให้ลึกกว่านี้ เราก็รู้อีกนั่นแหละว่า เกลือมีสองชนิด คือ เกลือสมุทร และเกลือสินเธาว์ เกลือสมุทรเป็นเกลือที่ได้จากทะเล ส่วนเกลือสินเธาว์เป็นเกลือที่ได้จากดิน แต่คุณรู้หรือเปล่าว่าเกลือมีความสำคัญต่อร่างกาย อย่างไรคุณคงร้องอ๋อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ใหญ่ใช่ว่าจะดียิ่งเข้าไปศึกษาเกี่ยวกับโทรทัศน์มาก ก็ยิ่งพบว่า โทรทัศน์มีผลกับจิตใจของผู้ชมมากขึ้นทุกวันเป็นความจริงที่เทคโนโลยีของโทรทัศน์พัฒนาขึ้นไปรวดเร็วมากจนดูราวกับว่าโทรทัศน์กลายเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งของครอบครัวที่จะขาดไม่ได้เสียแล้ว ภาพสัญญาณไฟฟ้าที่ปรากฏบนจอขนาดใหญ่ช่างเหมือนกับของจริง ...