พฤติกรรมอันตราย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 2)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสนจนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่ายเข้าใจง่ายเพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ในคนไข้รายแรกนี้จึงเป็นอาการวูบที่เกิดจาก “ภาวะความดันเลือดตกเมื่อเปลี่ยนท่า"(orthos-tatic hypotension) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    7คำถาม น่ารู้กับอีโบล่า1. ที่มาของเชื้ออีโบล่าเชื้ออีโบล่าเป็นเชื้อไข้เลือดออกที่พบในทวีปแอฟริกา รู้จักเมื่อมีการระบาดครั้งแรกที่ประเทศซาอีร์ และซูดาน เมื่อปี พ.ศ.2519 สามารถแยกเชื้อและศึกษารายละเอียดได้ พบว่าเชื้อที่แยกได้ที่ประเทศซูดาน ทำให้เกิดโรคระบาดที่มีอัตราตายต่ำกว่าเชื้อที่ระบาดในประเทศซาอีร์เชื้อที่มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายเชื้ออีโบล่าจัดอยู่ในสกุลไฟโลไวรัสนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 1)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่า เป็นคำกริยา แปลว่า “ลูกโพลงแล้วดับไปทันที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    ความเป็นพิษของวิตามินเกินขนาดปัจจุบันคนไทยหันมาสนใจ เรื่องสุขภาพกันมากกว่าในอดีต เรื่องของการกินอยู่อย่างไรเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่เจ็บป่วย เพราะสิ่งแวดล้อมรอบด้านล้วนแต่เป็นพิษภัยทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นอากาศ น้ำ ดิน แม้กระทั่งคนซึ่งทำทุกอย่างเพื่อเพิ่มผลประโยชน์ให้ตน ทั้งที่ทำโดยความไม่รู้และผู้ที่นำความรู้มาหันเหบิดเบือนจากความเป็นจริง เพื่อให้คนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์หลงเชื่อ ดังนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    หญิงไทยเหยื่อเอดส์เมื่อเริ่มต้นมีการระบาดของโรคเอดส์ในโลกเมื่อ 14 ปีก่อน ผู้ชายถูกจัดเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์มากที่สุดจากพฤติกรรมรักร่วมเพศและการติดยาเสพติด ผู้หญิงอาจมีโอกาสติดเอดส์ได้เช่นกัน จากการมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ติดยาเสพติด แต่โอกาสติดน้อยกว่าชายมากเมื่อการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ปรากฏเด่นชัดขึ้นมา ในทวีปแอฟริกาในระยะเวลาต่อมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    ความเครียดและสุขภาพอะไรเอ่ย ดีใจก็เกิดได้ เสียใจก็เกิดได้ เกิดได้ทั้งเวลาประสบ ความสมหวังและผิดหวัง (เป็นภาวะอย่างหนึ่งของร่างกายและจิตใจ)คำตอบก็คือ การเกิดภาวะเครียดนั่นเองเนื่องจากความเครียดทำให้เกิดการตอบสนองของร่างกายได้เกือบทุกส่วน ทั้งอาการทางร่างกาย และอาการทางจิตใจ แต่ไม่จำเพาะ ตัวอย่างเช่น ปวดศีรษะ ปวดคอ ปวดหลัง ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ หัวใจสั่น หายใจขัด หายใจถี่ เหงื่ออกง่าย ตกใจง่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 9)เรื่องราวต่าง ๆทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปภาคสรุปคำว่า “เจ็บหัวใจ” ในที่นี้ หมายถึง อาการที่เกิดขึ้นจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial ischemia) หรือเรียกสั้น ๆว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    ปัญหาถุงย่อยสลาย ด้วยแสงอาทิตย์ในยุคที่ผู้คนตื่นตัวกันเรื่องสิ่งแวดล้อม และปัญหาที่พูดถึงมากอีกอันหนึ่งคือ ขยะพลาสติก ซึ่งย่อยสลายได้ยาก ในวงการอุตสาหกรรมพลาสติกก็ตอบสนองนโยบายสิ่งแวดล้อมด้วยการผลิตถุงพลาสติกย่อยสลายง่ายด้วยแสงอาทิตย์ถุงพลาสติกย่อยสลายง่ายนี้ เป็นที่นิยมแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ตามห้างสรรพสินค้าทั่วไป เพื่อใช้ใส่สิ่งของ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 เมษายน 2538
    นอนหลับยากอาการนอนไม่หลับหรือนอนหลับยากเป็นอาการที่พบมากที่สุดอาการหนึ่ง ในบรรดาอาการไม่สบายต่างๆ เช่น ปวดศีรษะ ตัวร้อน ปวดท้อง ท้องผูก ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน น้ำมูกไหล ไอ หอบ เป็นต้นอาการนอนไม่หลับหรือนอนหลับยากมักพบในคนสูงอายุ ความจริงแล้วปัญหานอนไม่หลับหรือนอนหลับยากพบได้เกือบทุกวัย(ยกเว้นเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปีซึ่งพบน้อย) บางคนนอนไม่หลับเพียงไม่กี่วัน เช่น คนที่เดินทางไปต่างถิ่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 เมษายน 2538
    เบาหวานข้อน่ารู้1. ปกติร่างกายของคนเรามีการเผาผลาญน้ำตาลที่ได้มาจากอาหารจำพวกแป้ง และของหวาน ให้เกิดเป็นพลังงานสำหรับการทำหน้าที่ของอวัยวะทุกส่วน เช่น การเคลื่อนไหว การใช้สมอง การทำงานของหัวใจ การย่อยอาหาร การหายใจ เป็นต้น การเผาผลาญน้ำตาลดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยสารฮอร์โมนชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “อินซูลิน” ...