วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    คราวนี้จะนำเรื่องอาหารกับการวิ่งมาเล่าสู่กันฟัง โดยจะเป็นเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่คิดว่าน่ารู้ เพื่อพวกเราเหล้านักวิ่งจะได้มีสุขภาพอนามัยดีจาการกิน ซึ่งไม่จำเป็นว่าจะต้องกินของแพง หรือกินวิตามินแรง ๆ อย่างที่มีผู้แนะนำกันเรื่องที่เราจะคุยกันวันนี้ก็มีเรื่องแรกออกกำลังอย่างไร น้ำหนักไม่ลงซักทีอันนี้ต้องเน้นว่า การออกกำลังกายไม่ใช่การลดน้ำหนักโดยตรง เพียงแต่ถ้าออกกำลังกายด้วย คุมอาหารด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวถึง “เทคนิคการวิ่ง” คือขั้นแรก ขั้นของการทำใจและเตรียมตัวก่อนการเริ่มต้นขั้นที่ 2 ขั้นของการยืดเส้นยืดสายขั้นที่ 3 ขั้นของการเริ่มต้นวิ่งและขั้นที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาได้ผ่านไปที่คณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหิดลในตอนเที่ยง จึงแวะกินอาหารที่ห้องอาหารซึ่งจัดไว้สำหรับอาจารย์ รู้สึกแปลกใจที่ถึงแม้เป็นช่วงเวลาสำหรับอาหารเที่ยงแต่ดูมีอาจารย์มากินอาหารน้อยมากและได้ยินเสียงดนตรีเร้าใจดังอยู่บนตึก สอบถามได้ความว่า เหล่าอาจารย์กำลังเต้นแอโรบิคอยู่ข้าพเจ้ารู้สึกปลาบปลื้มขึ้นมาทันที ถ้าอาจารย์ในมหาลัยตื่นตัวในการออกกำลังกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    “นักวิ่งจะกินอาหารยังไงก็ได้ไม่อ้วนหรอก”ข้อความทำนองนี้เราอาจจะเคยได้ยินกันบ่อย ๆ แต่อย่าไปหลงเชื่อเข้าเชียวนะครับ เพราะว่าคุณเองก็อาจจะเป็นนักวิ่งอีกคนหนึ่งในหลาย ๆ หมื่นหลายพันคนที่น้ำหนักตัวก็ยังเกินพิกัดอยู่ดี แม้จะวิ่งมานานโขแล้วก็ตามทำไมรึครับ อาจเป็นเพราะยังวิ่งไม่พอกระมัง หรือว่าวิ่งผิดวิธี อาหารซะละมั้งที่เป็นผู้ร้ายในเรื่องนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    ในภาคแรกผู้เขียนได้กล่าวถึงว่าเอ็นดอร์ฟินส์ หรือ “ฝิ่นภายใน” คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไรตลอดจนการใช้อธิบายปรากฏการณ์บางอย่างในร่างกาย อย่างเรื่องของความเจ็บปวด คราวนี้จะได้พูดกันต่อไปถึงบทบาทของ “ฝิ่นภายใน” ที่เราเอาไปใช้ประโยชน์ ในแง่การนำ “ฝิ่นภายใน” มาใช้อธิบายเรื่องดี ๆ ก็เช่น การวิปัสสนา การออกกำลังกาย การอดยาเสพย์ติด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    หัวใจของการออกำลังกายด้วยการวิ่งนั้น สำคัญที่สุดก็อยู่ที่ตรงนี้นี่เองว่า“ทำอย่างไรการวิ่งนั้น จึงจะเป็นการวิ่งที่ถูกต้อง ถูกหลักวิธี เป็นการออกกำลังที่ให้คุณค่าให้ประโยชน์ต่อร่างกายอย่างแท้จริง”การวิ่งเพื่อสุขภาพในที่นี้ มิได้หมายถึงเพียงแค่การที่ท่านก้าวขาถี่ ๆ และพาตัวเองเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเรื่อยๆ เท่านั้น หากแต่ท่านจะต้องมีเทคนิควิธีการบางประการเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    เช้าตรู่ของวันที่ 13 มกราคม 2528 มีการวิ่งศิริราชมาราธอนครั้งที่ 2 (8 กิโลเมตร) ขณะที่ข้าพเจ้ายืนรอคอยนักวิ่งอยู่ที่เส้นชัย ทันใดนั้น นักวิ่งคนแรกปรากฏขึ้นที่สุดขอบถนน ภาพนั้นค่อย ๆ ชัดเจนขึ้น การเคลื่อนไหวของนักวิ่งที่ดูเสมือนหนึ่งภาพช้าบนจอภาพยนตร์ขณะยังอยู่ห่างไกลออกไป กลับกลายเป็นการเคลื่อนไหวที่รวดเร็วดุจลมกรด เมื่อเข้ามาใกล้สายตาและเต็มจอภาพของสายตามากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    “ตุ๊บตะลู๊บ ตุ๊บตะลู๊บ”เสียงหัวในที่เต้นแรงและเร็วประมาณนาทีละ 120-150 ครั้ง ขณะที่นักวิ่งกำลังเร่งฝีเท้าอยู่ ราวกับว่าหัวใจจะหลุดออกจากทรวงอกให้ได้ การหายใจถี่และแรง เส้นเลือดที่ขมับทั้งสองข้างโป่งออกและเต้นในจังหวะเดียวกับหัวใจ ยิ่งทำให้เกิดความเจ็บปวดราวกับมีใครเอาฆ้อนมาทุบที่หัว ทุกฝีก้าวที่ย่ำลงกับพื้น นี่เราเป็นอะไร ตาชักมืดมึนไป ขาชักอ่อนปวกเปียกจนแทบจะลงไปนอนกองกับพื้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    คำถามที่ผู้เขียนถูกถามบ่อยที่สุดจากท่านที่เริ่มวิ่งออกกำลังกายเพื่อสุขภาพก็คือ“วิ่งแค่ไหนจึงจะพอดี ?”ผู้ถามยังอยากทราบว่า หากต้องการวิ่งเพื่อสุขภาพควรจะวิ่งสัปดาห์ละกี่ครั้ง ? ระยะทางเท่าไร ?วิ่งด้วยความเร็วเท่าไร ?คำตอบก็คือ หากท่านประสงค์จะรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน ก็ควรจะออกกำลังกายอย่างน้อยไม่ต่ำกว่าสัปดาห์ละ 4-5 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 30 นาที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    คราวนี้ก็มาถึงเวลาของการวิ่งเหยาะ หรือจ๊อกกิ้งเสียที ! และอีกเพียง 3 เดือนจากนี้ไป ท่านจะสามารถวิ่งเหยาะรวดเดียวได้ไกลถึง 3 ไมล์ (หรือ 4.8 กม.) แถมจะใช้เวลาไม่มากนักในแต่ละวันเสียด้วยซิ“วิ่งเหยาะ” กับ “วิ่ง” นั้น ไม่เสียเวลาเท่าไร เพราะเป็นการออกกำลังกายที่มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว หากต้องการผลประโยชน์ต่อร่างกายปริมาณเท่ากัน วิ่งเหยาะกับวิ่ง ...