วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ในสองตอนที่แล้วได้พูดถึงว่าการสอบถามบรรดานักวิ่ง ในเรื่องชีวิตเพศให้ผลออกมาอย่างไร และมีฮอร์โมนกันสารกับสารเคมีตัวใดที่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นในตัวนักวิ่งบ้าง วันนี้เราจะพูดถึงเรื่องเบา ๆ คือในแง่ศิลปปรัชญามากกว่าวิทยาศาสตร์ นักวิ่งมองตนเองว่าเป็นนักรักไปด้วยได้อย่างไรนักวิ่งมีความฟิตสูงความฟิตในทีนี้ไม่ใช่ฟิตแบบเตะปี๊ปดัง แต่หมายถึงความแข็งแรงของร่างกายกิจกรรมทางเพศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    การเดินนั้นนับเป็นการเริ่มต้น ก้าวแรกของการวิ่ง...ไปสู่ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า แข็งแรงกว่า ที่ปลอดภัยที่สุด ถูกต้องตามหลักวิชาการเวชศาสตร์การกีฬามากที่สุด เรื่องป่วยน้อยที่สุด เจ็บปวดน้อยที่สุด และที่สำคัญคือเป็นการออกกำลังกายที่ง่ายที่สุดหลังจากที่ท่านได้ให้คะแนนและรวมคะแนนตัวเองในแบบประเมินระดับความฟิตของสุขภาพใน “หมอชาวบ้าน” ฉบับที่ 66 (ฉบับที่แล้ว) หน้า 90-92 แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ปราชญ์นิรนามกล่าวไว้ว่า “ความรักทำให้โลก (เบี้ยว ๆ บูด ๆ ลูกนี้) หมุนไปได้ ความใคร่ทำให้การหมุนนี้มีพลัง”ในตอนที่แล้ว เราได้พูดกันถึงเรื่องการวิ่งว่าเกี่ยวข้องกับชีวิตเพศอย่างไร หลักฐานที่มีอยู่แสดงว่าการวิ่งในขนาดที่พอเหมาะทำให้ชีวิตเพศดีขึ้นหรือใครที่ยังข้องใจลองฟังเรื่องจริงที่ไม่อิงนิยายนี้ดูเรื่องนี้เล่าโดย นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม จิตแพทย์นักวิ่งชื่อดัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    คนทั่วไปมีจำนวนไม่น้อยที่ปกติไม่ได้ออกกำลังกาย และโดยเฉพาะเมื่อมีโรคประจำตัว ยิ่งไม่กล้าออกกำลังกายเข้าไปอีก เพราะคิดว่า จะมีผลกระทบกระเทือนต่อสุขภาพมากขึ้นผู้เขียนเขียนบทความชิ้นนี้เพื่อเสนอแนวทางการออกกำลังกายสำหรับคนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพราะเห็นว่า ผู้ป่วยด้วยโรคทั้งสองมีจำนวนมาก อย่างไรก็ตามขอให้เข้าใจว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 63 กรกฎาคม 2527
    นักวิ่งก็เช่นเดียวกับนักกีฬาประเภทอื่นๆที่ต้องมีการฝึกฝนและฝึกซ้อม นักเทนนิส นักฟุตบอล นักตะกร้อก็ต้องมีหลักการฝึก มิฉะนั้นฝึกไปอาจเสียเวลาเปล่า หรือแทนที่จะก้าวหน้ากลับแย่ลง นักวิ่งก็เช่นกัน ถ้าเราสักแต่วิ่งโดยไม่มีหลักการไม่มีเป้าหมาย การวิ่งนั้นอาจไม่รุดหน้า หรือก้าวไปได้ก็ช้ากว่าที่ควรวันนี้ก็จะมาแนะนำหลักใหญ่ ๆ ในการฝึกซ้อมเรื่องท่าทาง เครื่องแต่งกาย ในการวิ่งจะไม่พูดถึง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ในยุคที่การวิ่งเพื่อสุขภาพ * กำลังเป็นแฟชั่นอยู่นี้ เรามักเห็นเด็กมาวิ่งเป็นประจำ เด็กบางคนก็เข้าแข่งขันวิ่งระยะไกลร่วมกับผู้ใหญ่ บางคนอาจถามตัวเองอยู่ในใจว่า เป็นการสมควรแค่ไหนที่เด็กจะวิ่ง หรือพ่อแม่ที่เป็นนักวิ่งก็อาจสงสัยว่า ควรพาลูกไปร่วมออกกำลังด้วยหรือไม่ผู้เขียนเองก็มีความสงสัยเช่นเดียวกัน และพยายามหาคำตอบอยู่ เท่าที่ลองค้นคว้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ในบรรดาสัตว์ที่เดินหรือวิ่งได้นั้นมนุษย์นับว่าเป็นสัตว์ที่วิ่งได้โดยลำตัวตั้งตรงที่สุด ไม่เพียงแต่ขาทั้ง 2 ข้างเท่านั้น ที่ต้องทำงานขณะวิ่ง ส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อข้อต่อของแขน ศีรษะ คอ ลำตัวต้องทำงานร่วมไปด้วยเพื่อให้ท่าทางวิ่งอยู่ในลักษณะที่ตรง นอกจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของขา เช่น เท้าและข้อเท้า หน้าแข้ง ข้อเข่า และข้อตะโพกแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    “อะไรเอ่ยตอนเช้า 4 ขา กลางวัน 2 ขา ตอนเย็น 3 ขา” เมื่อครั้งยังเป็นเด็กอยู่ที่ชั้นประถม มีบทเรียนบทหนึ่งกล่าวถึงตัวสฟินซ์ที่มีศีรษะใบหน้าเป็นคนแต่ตัวเป็นสิงห์โตของอียิปต์ในสมัยดึกดำบรรพ์ ก่อนที่จะกลายเป็นหินสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ ชอบวางอำนาจบาทใหญ่ที่ปากทางถนน ตั้งคำถามต่อมนุษย์ที่จำเป็นต้องสัญจรไปมาบนถนนเส้นนี้ ถ้าตอบคำถามข้างบนนี้ได้ก็ยอมให้ผ่านไปได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    บ้านเราอากาศร้อนทั้งปี แม้หน้าหนาวก็มักเย็นอยู่ชั่วเช้า ๆ เย็น ๆ กลางวันชักร้อนยิ่งออกไปกลางแจ้งแล้วแดดแจ๊ด ด้วยว่าผ้าโปร่งใสไม่มีเมฆบดบัง นอกจากความร้อนแล้ว ความชื้นก็ยังสูงโดยเฉพาะหัวเมืองชายทะเล ทั้งสองสิ่งนี้คือความร้อนกับความชื้นเป็นอุปสรรคสำคัญอย่างหนึ่งในการออกกำลังเพราะเป็นสาเหตุให้มีการเป็นลมเกิดขึ้นได้อย่างที่บางทีเรียกว่า “ลมแดด” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ผู้ที่สนใจจะรักษาตนเองเบื้องต้น ในยามเจ็บป่วย ก่อนอื่นก็ควรจะรู้จักตัวเองในยามไม่เจ็บป่วยเสียก่อน คอลัมน์ “ร่างกายของเรา” จะมาคุยกับท่านเกี่ยวกับเรื่องความเป็นไปในร่างกายของตัวเราเองในยามปกติหรือเรียกให้หรูอีกนิดคือ ว่าด้วยวิชากายวิภาคสรีรวิทยาระดับชาวบ้าน ซึ่งเราจะเล่าสู่กันฟังเป็นตอนๆ ...