-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
101
กันยายน 2530
“ชีพจร” เป็นสัญญาณการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ เพื่อไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย บริเวณที่สามารถจับชีพจรได้ชัดเจน คือ1. ที่ข้อมือทั้งสองข้าง โดยใช้นิ้วชี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
100
สิงหาคม 2530
“ผ้าสามเหลี่ยม” เป็นผ้าพันแผลที่ตัดเป็นรูปสามเหลี่ยม ขนาดของผ้าสามเหลี่ยมขึ้นอยู่กับอวัยวะที่ใช้ และมีหลักการใช้เช่นเดียวกับผ้าพันแผลชนิดม้วน คือ1. ผ้าที่ใช้ต้องสะอาดและแห้ง2. ถ้าผ้าผืนใหญ่ ต้องพับให้มีขนาดพอเหมาะ3. พันให้พอกระชับ อย่าให้แน่นหรือตึงเกินไป4. การผูกปลายผ้า ควรผูกแบบเงื่อนกระตุก เสร็จแล้วใช้เข็มซ่อนปลายกลัดให้เรียบร้อย5. การผูกปลายผ้า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
99
กรกฎาคม 2530
การพันผ้าที่ผ่านมา เป็นการพันชนิดเป็นเกลียว ซึ่งเหมาะสำหรับอวัยวะที่เป็นรูปทรงกระบอก เช่น แขน หรือขา แต่สำหรับอวัยวะที่มีข้อพับหรือข้อต่างๆ รวมทั้งฝ่ามือ ฝ่าเท้า หลังมือ หลังเท้า และไหล่ การพันผ้าเป็นรูปเลข 8 จะกระชับ ไม่ลื่นหลุดง่ายเหมือนการพันชนิดเกลียว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
98
มิถุนายน 2530
เมื่อมีบาดแผลที่นิ้วมือหรือนิ้วเท้า ต้องการพันผ้าหลังทำแผลเรียบร้อยให้ปฏิบัติดังนี้1. จับม้วนผ้าหงายขึ้น ตั้งต้นพันมาตั้งแต่ปลายนิ้วโดยทับปลายผ้าที่ตั้งต้นก่อน 2-3 รอบ2. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
96
เมษายน 2530
การใช้ผ้าพันแผล (ตอนที่ 1)“ผ้าพันแผล” มีประโยชน์หลายอย่าง เช่น ช่วยป้องกันฝุ่นละอองหรือเชื้อโรคไม่ให้เข้าบาดแผล ช่วยยืดผ้าปิดแผลไม่ให้เคลื่อนหลุด ช่วยยึดข้อหรือกระดูกไม่ให้เคลื่อนไหวในกรณีมีข้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก และยังช่วยห้ามเลือดได้อีกด้วยผ้าพันแผลที่ใช้กันมากเป็นชนิดม้วน มักเป็นผ้าโปร่งชนิดเดียวกับผ้ากอซ มีขนาดและความยาวแตกต่างกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
96
เมษายน 2530
โรคหน้าร้อนหน้าร้อนมาถึงแล้ว โดยเฉพาะเดือนเมษายน ดูเหมือนจะเป็นเดือนที่ร้อนที่สุดแห่งปีเลยทีเดียว แสงแดดแผดจ้าเผาผิวอันบอบบางของสาวๆให้ไหม้เกรียมเอาได้ง่ายๆ หลายๆคนชวนเพื่อนฝูงมิตรสหายพากันหลบร้อนไปสุขสำราญตามหาดทรายชายทะเล ให้สายลมลูบไล้คลายความร้อนและความเครียด บางคนก็ไปเที่ยวป่า ขึ้นภูเขา แต่อยู่ใต้ฟ้าเมืองไทยแล้วไหนเลยจะหนีพ้นแสงแดดไปได้อากาศร้อนมากๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
95
มีนาคม 2530
อาการปวดท้อง (ต่อ) การตรวจรักษาในฉบับก่อนๆ ได้กล่าวถึงอาการปวดท้องที่เกี่ยวข้องกับประจำเดือนและเกี่ยวข้องกับการกินอาหาร ในฉบับนี้จะมาว่ากันด้วยเรื่องอาการที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายอุจจาระ3. ประเภทที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายอุจจาระ เช่น 3.1 ปวดอุจจาระหลังอาหาร ให้ดูในข้อ 2.3 3.2 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
94
กุมภาพันธ์ 2530
เทคนิคการดูแลตนเองเมื่อเป็นไข้ออกผื่นคุณผู้อ่านครับ พร้อมๆกับลมหนาวมาเยือนในระยะนี้ ก็ขอให้ระวังว่าลูกหลาน หรือตัวท่านเองอาจไม่สบายเป็นไข้ออกผื่นขึ้นมาได้จากสถิติการระบาดของโรคพบว่า ในทุกๆปีไข้ออกผื่นมักมีการระบาดในช่วงหน้าแล้งนับตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงประมาณเมษายน ทั้งนี้เป็นเพราะเจ้าเชื้อไวรัสที่เป็นตัวก่อเหตุจะเจริญงอกงามได้ดีในภูมิอากาศแบบนี้นี่เองถ้าหากปะเหมาะเคราะห์ไม่ดี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
89
กันยายน 2529
น้ำร้อนลวกจะทำอย่างไรอุบัติเหตุเกิดได้ตลอดเวลาและทุกสถานที่ หากไม่มี “จิตปลอดภัย” หมายถึงไม่มีความระมัดระวัง อุบัติเหตุในบ้านที่พบบ่อยพบได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่อย่างหนึ่งคือ น้ำร้อนลวก จะโดยสาเหตุใดก็ตามย่อมเกิดการทำลายของผิวหนัง เนื้อเยื่อหรือกล้ามเนื้อ“น้ำร้อนลวก” ในเด็ดมีอันตรายมากกว่าผู้ใหญ่ เพราะพื้นที่บนร่างกายของเด็กมีน้อยบริเวณน้ำร้อนลวกจึงกว้างและอาจถูกอวัยวะสำคัญ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
87
กรกฎาคม 2529
การทำแผล (ตอนที่ 3 : การปฐมพยาบาลบาดแผล)การทำแผลมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้แผลสะอาด ป้องกันการติดเชื้อ และป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับบาดแผล เช่น การตกเลือด หัวใจของการทำแผล คือ ต้องกระทำด้วยวิธีที่สะอาดที่สุดเท่าที่จะทำได้หลักสำคัญในการปฐมพยาบาลบาดแผล⇒ แผลช้ำ ควรประคบบริเวณนั้นด้วยความเย็นทันที เพื่อให้เลือดออกน้อยลง พันผ้าให้แน่นพอสมควร (อาจใช้ผ้ายืด ซึ่งมีขายตามร้านขายยา) ...