การปฐมพยาบาล

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    “ตะขาบ” ชอบซุกตัวอยู่บริเวณที่อับชื้นและรก เช่น ใต้ตุ่มน้ำ กองไม้ ซากต้นไม้ตาย เด็ก ๆ มักถูกตะขาบกัดบ่อย เนื่องจากซุกซนชอบรื้อค้น “พิษของตะขาบ” โดยทั่วไป ไม่ใคร่มีอาการรุนแรง ที่พบบ่อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 117 มกราคม 2532
    บ้านเราเป็นประเทศอยู่ในโซนร้อน ภูมิอากาศจึงเหมาะสมกับการมีสัตว์และแมลงมีพิษหลายชนิด จะเห็นว่าแม้บ้านเรือนจะไม่ตั้งอยู่ในที่รก ก็ยังสามารถพบสัตว์และแมลงมีพิษที่เราคุ้นเคยกัน ได้แก่ งูพิษ แมงป่อง ตะขาบ ผึ้ง ต่อ แตน มดตะนอย รวมทั้งมดคันไฟตัวโต ๆ สัตว์และแมลงดังกล่าว ถ้าต่อยหรือกัด จะปล่อยสารพิษที่อยู่ในตัวของมันเข้าสู่ร่างกายทำให้เจ็บปวด ที่สำคัญพิษเหล่านี้ทำลายเซลล์ต่าง ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    คืนนี้ฝนตกหนัก ห้องแพทย์เวร ไม่มีผู้ป่วยเลย ผู้คนคงหลบฝนอยู่กับบ้านกันหมด ปวดหัวตัวร้อนอย่างไร ก็คงไม่มาหาหมอ ผมมีเวลาว่างพอที่จะอ่านหนังสือพิมพ์เพลิน ๆ ห้าทุ่มครึ่ง อีกครึ่งชั่วโมงผมจะได้กลับไปนอนพัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    “ไข้” เป็นอาการที่แสดงว่ามีความผิดปกติ เกิดขึ้นกับร่างกายที่พบได้บ่อยมาก คือ การมี “เชื้อโรค” เข้าสู่ร่างกาย เช่น การเป็นหวัด การเจ็บคอ การออกผื่นและอุจจาระร่วงบางชนิด เป็นต้นการดูแลไข้ หรือที่แท้จริงคือ การดูแลผู้ที่มีอาการไข้ ผู้ที่มีอาการไข้ นอกจากตัวจะร้อน ซึ่งการวัดความร้อนสามารถวัดได้ด้วย “ปรอทวัดไข้” ดังนี้เคยกล่าวมาแล้วนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถอะ” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นอาการหน้ามืดเป็นลม เป็นอาการที่พบบ่อยมากอีกอาการหนึ่ง คนไข้ที่มาบอกว่า เป็นลมหน้ามืดหรือหน้ามืดเป็นลม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    บุคคลที่เป็นลม จะต้องได้รับ “การจับชีพจร” ถ้าจับชีพจรที่ข้อมือหรือข้อพับข้อศอกไม่ได้ ให้จับที่คอ ถ้าแน่ใจว่าจับไม่ได้ แสดงถึงสัญญาณอันตรายว่า อาจเกิดจากหัวใจหยุดเต้น ซึ่งจะต้องตรวจให้แน่ใจอย่างรวดเร็วว่า1. “ดูว่าหมดสติจริงหรือเปล่า” โดยการเรียกชื่อ หรือหยิกต้นแขนต้นขาแรงๆ หรือใช้ข้อนิ้วมือกดขยี้บนกระดูกหน้าอก ถ้าหมดสติจะไม่แสดงความรู้สึกต่อการกระทำเหล่านี้2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 105 มกราคม 2531
    “การเป็นลม” เป็นอาการเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอชั่วคราว ทำให้ไม่รู้สึกตัวไประยะหนึ่ง มีได้หลายสาเหตุ เช่น หิว เหนื่อย ร้อนมาก กังวลใจ ตกใจ กลัว มีความเครียดอย่างรุนแรง เสียเลือด และมีการกระทบกระเทือนที่สมองอย่างรุนแรงลักษณะของผู้ที่เป็นลมในระยะแรกผู้เป็นลม อาจมีความรู้สึกที่บอกได้ว่า รู้สึกเวียนศีรษะ ตาพร่า หน้ามืด ใจสั่น มือเท้าไม่มีแรง จากนั้นจะหมดความรู้สึก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 104 ธันวาคม 2530
    เครื่องใช้ในการวัดความดันโลหิต1. เครื่องวัดความดันโลหิตมีหลายชนิดทั้งเล็ก และใหญ่ ชนิดใหญ่เหมาะสำหรับไว้ใช้กับที่ไม่เคลื่อนย้ายไปไหน ชนิดเล็กนำติดตัวไปได้ เครื่องวัดประกอบด้วยกระเปาะปรอท มีขีดบอกระดับ และผ้าพันแขน2. หูฟัง3. สำลี, แอลกอฮอล์ 70% สำหรับเช็ดหูฟังก่อนและหลังใช้วิธีการวัด1. ก่อนวัดความดันโลหิต ต้องให้ผู้ถูกวัดนั่งพัก หรือนอนพักก่อนประมาณ 10-15 นาที2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    “การหายใจ” เป็นการแสดงการสูดออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย โดยผ่านจมูก หลอดลม และปอด ที่เรียกว่า การหายใจเข้า และเป็นการแสดงการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายโดยผ่านปอด หลอดลม และจมูก ที่เรียกว่า การหายใจออก การตรวจนับการหายใจเป็นการสังเกตว่ามีการหายใจที่ผิดปกติหรือไม่ ในจังหวะ และจำนวนครั้ง/นาที โดยวิธีการสังเกตไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว ...