การปฐมพยาบาล

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 83 มีนาคม 2529
    จะทำอย่างไร เมื่อเกิดแผลกดทับหลังจากที่ได้พยายามป้องกันเพื่อมิให้เกิดแผลกดทับกันอย่างเต็มความสามารถแล้ว แต่ไม่สามารถป้องกันได้ จะทำอย่างไรกับแผลกดทับนั้น?แผลกดทับที่เกิดกับผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวจะรักษายากกว่าผู้ที่ขยับตัวได้เปลี่ยนท่าได้ และผู้ที่รู้สึกเจ็บ ทั้งนี้เพราะผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว มักมีโอกาสที่แผลจะเปรอะเปื้อนอยู่กับอุจจาระและปัสสาวะตลอดเวลา และยังไม่มีความรู้สึกเจ็บ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 82 กุมภาพันธ์ 2529
    การป้องกันแผลกดทับแผลกดทับ หมายถึง การฉีกขาดของผิวหนัง หรือแผลที่เกิดขึ้นเนื่องจากบริเวณนั้นต้องถูกกดอยู่นานๆ ทำให้มีเลือดมาเลี้ยงได้น้อยกว่าปกติผิวหนังจะขาดอาหารและออกซิเจนจนในที่สุดเนื้อเยื่อจะตายเกิดเป็นแผลแผลกดทับ เกิดได้กับบุคคลที่นอนอยู่ในท่าเดียวนานๆ เช่น ผู้ป่วยอัมพาต ผู้ป่วยที่อ่อนเพลียมากๆ ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว นอกจากนี้ยังพบได้บ่อยในผู้ที่ขาดอาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 81 มกราคม 2529
    การทำความสะอาดปาก-ฟัน ผู้ป่วยบนเตียงผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องนอนอยู่ในเตียงตลอดเวลา นอกจากต้องได้รับการดูแลเรื่องการอาบน้ำ การสระผม การทำความสะอาดหลังถ่ายอุจจาระปัสสาวะแล้ว ความสะอาดของปากและฟันยังเป็นเรื่องสำคัญมากที่จะต้องได้รับการดูแลตามความเหมาะสมคือ1. ถ้าผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุรู้สึกตัวดี พลิก ตะแคงได้ ผู้ดูแลช่วยเหลือด้วยวิธีการแปรงฟันหลังอาบน้ำทุกครั้งตามปกติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 79 พฤศจิกายน 2528
    การสระผมผู้ป่วยบนเตียงการสระผมผู้ป่วยหรือบนที่นอน ปฏิบัติค่อนข้างยาก เพราะต้องใช้น้ำมาก อาจมีการหกเปื้อนเลอะเทอะจึงควรมีผู้ช่วยการสระผมก็เช่นเดียวกับการอาบน้ำ นอกจากทำให้สะอาดแล้ว ยังเกิดความสุขสบายและกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตบนหนังศีรษะให้ดีขึ้น ผู้ป่วยที่ต้องนอนอยู่บนที่นอนตลอดเวลา ควรได้รับการสระผมอย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้งเครื่องใช้ในการสระผม เหมือนการสระผมอย่างปกติ คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 78 ตุลาคม 2528
    การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง“การอาบน้ำ” มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันทั้งคนปกติและคนป่วย โดยเฉพาะเวลาอากาศร้อน เหงื่อออกมาก การอาบน้ำเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ร่างกายสะอาด ขจัดสิ่งสกปรกบนผิวหนัง และยังช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตบนผิวหนังได้ดีขึ้น เพื่อให้ผิวหนังแข็งแรงและทำหน้าที่ได้อย่างปกติ การอาบน้ำช่วยให้เกิดความสบายทั้งร่างกายและจิตใจผู้ป่วยที่ช่วยตัวเองไม่ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 77 กันยายน 2528
    การทำความสะอาดที่นอนที่มีผู้ป่วย ผู้ป่วยที่ต้องนอนอยู่บนที่นอนตลอดเวลา ควรได้รับการเปลี่ยนผ้าปูที่นอนทุกวัน ทั้งนี้เพื่อความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย ตลอดจนเพื่อให้สะอาดและดูสวยงามสำหรับผู้ป่วยบางรายอาจกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ทำให้ที่นอนเปื้อน ควรใช้ผ้ายางปูทับผ้าปูที่นอนไว้ และใช้ผ้าปูทับผ้ายางอีกครั้ง เพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนผ้าในแต่ละครั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 มิถุนายน 2528
    สเต๊ท/เครื่องฟังตรวจแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำเอกลักษณ์ของบุคคลที่เป็นแพทย์ก็คือ คนที่แต่งชุดเสื้อกาวน์ (ชุดหมอ) กับ “สเต๊ท” คล้องที่คออีก 1 อันสเต๊ท เป็นคำย่อมาจาก สเต๊ทโทสโคป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    การช่วยเหลือเด็กชักการชักในเด็ก โดยเฉพาะเด็กอายุตํ่ากว่า 3 ปี มักมีสาเหตุมาจาก “ไข้สูง” ดังนั้นการเช็คตัวเพื่อลดไข้ควรจะได้กระทำทุกครั้ง เพื่อป้องกัน “การชัก” ชั่วระยะเวลาที่เด็กมีอาการชัก สมองจะขาดออกซิเจน ดังนั้น เด็กที่มีอาการชักบ่อย หรือการชักแต่ละครั้งใช้เวลานาน อาจทำให้เด็กพิการสติปัญญาเสื่อม การเจริญเติบโตช้า หรือได้รับบาดเจ็บถ้ามีการตกจากที่สูง เวลาชัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    นอกจากความไม่สมดุลระหว่าง จำนวนบุคลากรทางการแพทย์กับจำนวนประชาชนแล้ว ภาวะสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันยังทำให้ประชาชนจำนวนมากไม่สามารถใช้บริการของสถานพยาบาลได้ทุกครั้ง การดูแลตนเอง หรือดูแลซึ่งกันและกันเมื่อมีความผิดปกติบางอย่าง จึงมีความสำคัญที่จะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือบรรเทาภาวะวิกฤตก่อนที่จะไปสถานพยาบาลได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    คุณเคยสงสัยบ้างไหมว่า ในขณะที่เรากำลังเดิน วิ่ง ถีบจักรยานว่ายน้ำ ร่างกายของเราทำอย่างไรจึงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้โดยมีท่วงท่าที่คล่องแคล่วไม่เคอะเขินสะดุด การเคลื่อนไหวของคนเราต้องการการทำงานร่วมกันของอวัยวะในร่างกายหลายอย่างคือกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่ทำหน้าที่ของมันอย่างประสานและต่อเนื่อง ยิ่งเป็นนักกีฬายิมนาสติกที่กระโดดตีลังกาได้กลางอากาศ ...