ยาและวิธีใช้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    ยาสำคัญกว่าที่คิด (2)ฉบับที่แล้วเขียนถึงเรื่องความยุ่งยากของการจัดยาให้ถูกขนาด ถูกเวลา และถูกเทคนิค สำหรับคนไข้ผู้ใหญ่ที่กินยาได้ไปแล้วยังมีกลุ่มคนไข้อีกกลุ่มหนึ่งที่มีปัญหายุ่งยากเพิ่มขึ้น ได้แก่ คนไข้เด็ก คนไข้ที่มีปัญหาด้านการกลืนหรือกินไม่ได้เภสัชกรจะจัดเตรียมยาสำหรับคนไข้เฉพาะราย (extemporaneus preparation) เพื่อให้คนไข้สามารถได้ยาด้วยวิธีการที่เหมาะสมยกตัวอย่างเช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    ยาขับลม แก้ท้องอืดแก๊สในกระเพาะคำถาม : มักมีอาการท้องอืด มีแก๊สในกระเพาะควรเลือกใช้ยาชนิดใด?โรคท้องอืด หรืออาหารไม่ย่อย โรคท้องอืด ท้องเฟ้อ หรืออาหารไม่ย่อย (dyspepsia) เป็นอีกโรคหนึ่งที่พบได้บ่อย เป็นอาการผิดปกติของ ท้องหรือลำไส้ มักมีอาการบริเวณตรงกลางของท้องด้านบน อยู่ระหว่างใต้ลิ้นปี่และเหนือสะดือตัวอย่างอาการของโรคท้องอืด ได้แก่ ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด แน่นท้อง มีการบีบรัดของลำไส้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    ยาสำคัญกว่าที่คิด (1)เมื่อเจ็บป่วย ยาคือปัจจัยสำคัญที่จะใช้ต่อสู้โรคร้าย หน้าที่ของหมอคือจัดยาอย่างถูกต้องทั้งชนิดและความแรง เพื่อให้ผู้ป่วยหายเป็นปกติเรื่องของยามีประเด็นสำคัญที่พวกเราอาจไม่สนใจ แต่เป็นประเด็นสำคัญ ที่ทั้งผู้ให้การรักษาพยาบาลและคนไข้พึงรับรู้ เพื่อให้ได้รับยาที่ทรงอิทธิฤทธิ์พิชิตโรคร้าย โดยไม่แว้งกลับมาทำร้ายตัวคนไข้ ให้ยาอย่างไรจึงทำร้ายคนไข้การให้ยาที่เกิดผลร้ายมีหลายกรณี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    ลดความดันเลือดสูง โดยไม่ใช้ยาถาม : สมชาย/ระยองผมอายุ 48 ปี มีความดันเลือดสูง คุณแม่ก็มีความดันเลือดสูงเหมือนกันกินยาลดความดันเลือดสูงมาประมาณ 3-4 ปี ครั้งแรกความดัน 200 กว่าๆ โดยไม่มีอาการใดๆ กินยามาตลอด ความดันลดลงมาได้แต่เริ่มมีอาการปวดหัว เหนื่อยง่าย ต่อมาหมอให้ยาแรงขึ้น อาการดีขึ้น ปีที่แล้วตรวจเลือดพบว่าไตรกลีเซอไรด์สูงต้องกินยาลดโคเลสเตอรอลอีกทั้งหมอเปลี่ยนยาลดความดันเลือดทุก 6 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    โรคในฤดูหนาวฤดูหนาวมาถึงแล้ว คนทั่วไปมีโอกาสเสี่ยงจากความหนาวเย็น ที่จะทำให้เกิดโรคติดต่อได้ ดังนั้น จึงควรได้รับรู้ เพื่อการป้องกัน ดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวจากการวิเคราะห์สถานการณ์โรคของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่า โรคในฤดูหนาว ซึ่งจะมีผู้ป่วยจำนวนมาก ส่วนใหญ่จะเป็นเชื้อในกลุ่มไวรัส ได้แก่ โรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม ไข้สุกใส ส่วนโรคที่พบรองลงมา ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    ยาลดความอ้วนคำถาม : ยาลดความอ้วน มีข้อดีข้อเสียอย่างไร?ความอ้วน...สำคัญไฉน...!!!!"ความอ้วน "เป็นเรื่องยอดนิยมของเมืองไทย มองได้หลายมิติ ซึ่งคนส่วนใหญ่โดยเฉพาะวัยหนุ่มสาวจะให้ความสำคัญกับเรื่องความสวยความงามเป็นอันดับแรก ส่วนเรื่องสุขภาพหรือสุขภาวะของร่างกายถือเป็นอันดับรอง แต่เมื่อพิจารณามิติของระดับชาติและนานาชาติแล้วจะเห็นว่า ความอ้วนเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    ไซนัสอักเสบไซนัสอักเสบ หมายถึง การอักเสบของไซนัสที่อยู่รอบๆ จมูก* ทำให้มีอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล และปวดที่ใบหน้า ซึ่งมักจะเป็นๆ หายๆ บ่อย โรคนี้แบ่งเป็นชนิดเฉียบพลัน (มีอาการน้อยกว่า 30 วัน) กึ่งเฉียบพลัน (มีอาการระหว่าง 30-90 วัน) และเรื้อรัง (มีอาการมากกว่า 90 วัน) ส่วนใหญ่มักจะไม่มีความรุนแรง นอกจากสร้างความรำคาญหรือปวดทรมาน ส่วนน้อยที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    แคลเซียมแคลเซียม (calcium) แคลเซียมเป็นเกลือแร่ที่มีปริมาณมากที่สุดในร่างกาย เป็นส่วนประกอบสำคัญของกระดูกและฟัน ซึ่งมีปริมาณแคลเซียมถึงร้อยละ ๕๕ ของแคลเซียมทั้งหมด นอกจากนี้ แคลเซียมยังเป็นส่วนสำคัญในการทำงานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เช่น การเต้นของกล้ามเนื้อหัวใจ การทำงานของกล้ามเนื้อ การแข็งตัวของเลือด การนำสื่อประสาท กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมน ความสมดุลของภาวะกรด-ด่างของร่างกาย เป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    เครื่องสำอางกรดผลไม้กรดผลไม้ หรือ AHA ซึ่งย่อมาจาก alpha hydroxy acid เป็นกรดที่ได้มาจากหลายอย่าง มีฤทธิ์ทำให้ผิวลอกเล็กน้อย กรดเหล่านี้ส่วนใหญ่มาจากผลไม้ จึงเรียกง่ายๆ กันว่า กรดผลไม้ หรือ fruit acid นอกจากผลไม้แล้วยังพบ AHAในขิง อ้อย นม น้ำมะเขือเทศ และไวน์ และห้องทดลองยังสามารถผลิต AHA ด้วยกรดผลไม้ที่รู้จักกันดีที่สุดคือ กรดไกลคอลิก (glycolic acid) ซึ่งเตรียมได้จากน้ำอ้อยและองุ่นดิบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    แอสไพริน อันตราย"สั่งคุมใช้ยาแอสไพรินในเด็ก หลังหนูน้อยที่ลพบุรีเสียชีวิต"เมื่อกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา มีข่าวเด็กหญิงอายุ ๙ ขวบ ที่จังหวัดลพบุรี ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่เสียชีวิตจากการใช้แอสไพรินลดไข้ จนกลายเป็นโรคเรย์ซินโดรม (Reye's Syndrome) แทรกซ้อน เกิดอาการตับวาย ทางกระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายและมาตรการในการควบคุมการใช้แอสไพริน สำหรับบรรเทาอาการไข้ในเด็กแอสไพริน (aspirin) ...