การใช้ยาสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 229 พฤษภาคม 2541
    ข้อที่ 21 ป้องกันแมลงผักสวนครัวด้วยสมุนไพรหลายคนที่เริ่มหันมาปลูกผักสวนครัวบริโภคเองคงประสบกับปัญหาเรื่องมีแมลงมากัดกินทำลายพืชผักที่ท่านปลูกมาด้วยความเหนื่อยยาก บางท่านจึงหันไปพึ่งสารเคมีกำจัดแมลงมาใช้ฉีดพ่น แต่ท่านทราบหรือไม่ว่า สารเคมีเหล่านั้นจะตกค้างอยู่บนพืชผัก หรือปนเปื้อนอยู่ในดินของท่านเอง ซึ่งสารเคมีเหล่านี้อาจเป็นอันตรายต่อสมาชิกครอบครัวของท่าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2541
    การทดลองใช้ยาสมุนไพรรักษาไวรัสตับอักเสบพืชสมุนไพรหลายชนิดมีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ดีเอ็นเอของไวรัสชนิดนี้ และสารสกัดของมะขามป้อมดิน แพทย์ชาวอเมริกันและอินเดียได้ร่วมกันทำการทดลองพบว่า ยาสมุนไพรที่ใช้สืบต่อกันมามากกว่า 2,000 ปี สามารถรักษาโรคไวรัสตับอักเสบชนิด บี ได้ผลดีการทดลองนี้เป็นความร่วมมือระหว่างคณะแพทย์จากสถาบันวิจัยมะเร็งแห่งฟิลาเดลเฟีย สหรัฐอเมริกา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    มีลูกแฝดลดการเป็นมะเร็งเต้านมคุณเห็นชื่อเรื่องแล้วอาจจะต้องตาโตด้วยความสงสัยว่า แม่ที่มีลูกแผดสามารถลดอัตราเสี่ยงการเป็นมะเร็งเต้านมได้จริงหรือศูนย์วิจัยมะเร็ง (The Imperial Cancer Research Fund) ได้ทำการศึกษาโดยติดตามคุณแม่ชาวสวีเดน พบว่า คุณแม่ที่มีลูกแฝดมีส่วนสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งเต้านมน้อยกว่าคุณแม่ที่มีลูกคนเดียวถึง ๑ ใน ๓ และดร.ไมค์ เมอร์ฟี (Dr.Mike Murphy) ผู้อำนวยการ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    ผัก-ผลไม้พื้นบ้านมะขามเป็นไม้พื้นเมืองทวีปแอฟริกา แต่ก็พบในเขตร้อนทั่วไป คนไทยโบราณนิยมปลูกมะขามไว้ทางทิศตะวันตก โดยเชื่อว่า “ทำให้คนเกรงขาม” การที่นิยมปลูกมะขามไว้ทางทิศตะวันตกก็เพราะว่า มะขามมีกิ่งก้านสาขามาก ทำให้มีร่มเงา สร้างความร่มเย็นให้กับบ้านได้มะขามมีสรรพคุณทางยาหลายอย่าง เช่น ใบมะขามแก่ มีรสเปรี้ยวฝาด ใช้ขับเสมหะในลำไส้ แก้บิด แก้ไอ (ใช้ใบมะขามต้มรวมกับหัวหอมแดง) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    มะเขือเทศป้องกันมะเร็งเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า มะเขือเทศเป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพราะประกอบด้วยวิตามินซี และเส้นใยจำนวนมาก นอกจากนี้จากผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นว่า มะเขือเทศยังประกอบด้วยสารอาหารที่สำคัญมาก เรียกว่า ไลโคฟีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (แอนติออกซิแตนต์) เชื่อว่าจะมีส่วนในการป้องกันการเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย อันเป็นต้นเหตุของโรค เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือด หัวใจตีบตัน ต้อกระจก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    อาหารปลอดสารพิษ แนะนำผลิตภัณฑ์ : น้ำผึ้งน้ำผึ้งมีประโยชน์มากมาย อาทิเช่น รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ลดความดันเลือด โรคหัวใจ ท้องผูกเรื้อรัง บำรุงร่างกาย บำรุงผิว เป็นยาอายุวัฒนะ และอื่น ๆ ที่ไม่อาจสาธยายได้หมด วันนี้อยากจะขอแนะนำเทคนิคการทดสอบน้ำผึ้ง (ปลอม) สำหรับการเลือกซื้อ๑. เทน้ำผึ้งลงใบชา ทิ้งไว้สักครู่ ถ้าน้ำผึ้งปลอม (ผสมแบะแซ) ใบชาจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำค่อนข้างดำ๒. หยอดน้ำผึ้งลงในน้ำเปล่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    สะระแหน ผักต่างแดนที่โอนสัญชาติและเปลี่ยนชื่อเป็นไทยในบรรดาผักชนิดต่างๆ ที่ชาวไทยรู้จักและคุ้นเคยอยู่ในปัจจุบันนี้นั้น มีอยู่หลายชนิดที่คนไทยส่วนใหญ่คิดว่าเป็นผักพื้นบ้านดั้งเดิมและมีกำเนิดอยู่ในประเทศไทยแต่ความจริงเป็นผักที่นำเข้ามาจากต่างประเทศนานมาแล้วบ้าง หรือเพิ่งนำเข้ามาไม่นานนักบ้าง แต่การนำเข้ามานั้นกระทำอย่างไม่เป็นทางการหรือไม่มีบันทึกเป็นหลักฐานเอาไว้อย่างชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    อาหารปลอดสารพิษ“กลุ่มกรีนเนท” แนะนำผลิตภัณฑ์ กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบเป็นพืชพื้นบ้าน สามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศ กระเจี๊ยบเป็นสมุนไพรพื้นบ้าน ที่ชาวบ้านนิยมนำมาทำเป็นอาหารและยา โดยทั่วไป เรานำกลีบรองดอกกระเจี๊ยบซึ่งมีสีแดงเข้ม มาต้มกับน้ำ ดื่มแก้ร้อนใน กระหายน้ำ ขับเสมหะ และยังช่วยป้องกันการจับตัวของไขมันในเส้นเลือดได้อีกด้วย นอกจากนำมาต้มน้ำดื่มแล้ว กลีบรองดอกนี้ยังนำไปใช้ทำขนม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    แมงลัก : ผักพื้นบ้านน่ารักที่ไม่ใช่ตัวแมง“แมงอะไรเอ่ย ที่น่ารัก” คำทายข้างบนนี้ยังไม่เคยมีใครนำมาใช้ทายกันมาก่อน เนื่องจากเป็นคำทายที่ผู้เขียนเพิ่งคิดขึ้นก่อนเขียนบทความตอนนี้ไม่ถึงชั่วโมงและขอเฉลยตรงนี้เลยว่าคือ “แมงลัก”หัวใจของคำทายนี้อยู่ที่คำว่า “แมง” ซึ่งคนไทยสมัยก่อนทราบความหมายเป็นอย่างดี แต่คนสมัยนี้เริ่มเข้าใจน้อยลง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 215 มีนาคม 2540
    กะเพรา ผักพื้นบ้านและพืชศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูในบรรดาผักพื้นบ้านที่นำมาเขียนลงในคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” หลายสิบตอนที่ผ่านมานั้น แต่ละชนิดต่างก็มีจุดเด่นต่างๆกันไป มากบ้างน้อยบ้าง อันเป็นลักษณะเด่นของพืชพันธุ์ในเขตร้อน (tropical) ซึ่งมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกว่าเขตอบอุ่น (temperate) หรือเขตแห้งแล้ง (arid) อย่างมากมาย ความร่ำรวยทางทรัพยากรชีวภาพนั้น ...