การใช้ยาสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ผักขม : ความขมที่เป็นทั้งผักและยา“ยามรัก น้ำต้มผักก็ว่าหวาน”ข้อความที่ยกมาข้างต้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของคำพังเพยเก่าแก่ที่ชาวไทยในอดีตคุ้นเคยกันทั่วไป มีความหมายว่า เมื่อขณะมีความรักกันนั้น คนรัก (หรือสามี-ภรรยา) ทำอะไรให้ก็ดีไปหมด เช่น น้ำต้มผัก (ซึ่งมีรสขม) ก็รู้สึกว่ามีรสหวาน เป็นต้นจากคำพังเพยบทนี้ หากพิจารณาให้ดีจะพบว่า คนไทยในอดีตคุ้นเคยกับความหมายของน้ำต้มผักเป็นอย่างดีว่ามีรสขม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    ผักกระเฉด ผักพื้นบ้านที่รู้จักนอนผักพื้นบ้านดั้งเดิมของไทยหลายชนิด แพร่หลายและได้รับความนิยมจากชาวไทยทั่วประเทศ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น แต่ชื่อที่นิยมเรียกกันบางชื่อมีความหมายได้หลายอย่าง และบางความหมายไม่ค่อยสุภาพหรือไม่น่าฟัง จึงถูกตั้งชื่อใหม่ให้ใช้เรียกหรือเขียนอย่างเป็นทางการ ( เช่นเป็นราชาศัพท์ ) ผักพื้นบ้านที่อยู่ในข่ายดังกล่าวมานี้มีหลายชนิด เช่น ผักบุ้ง ( ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    บอน : ผักพื้นบ้านที่มากับความคัน“เหมือนน้ำกลิ้งบนใบบอน”ข้อความที่ยกมาข้างต้นมีเป็นสำนวนไทยโบราณ ใช้เปรียบเทียบกับสิ่งที่ไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงไปได้รวดเร็ว คล้ายหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน สำนวนนี้พ่อเพลงพื้นบ้านมักนำมาใช้โต้คารมกับแม่เพลงฝ่ายตรงข้าม โดยเปรียบว่า “น้ำใจหญิง เหมือนน้ำกลิ้งบนใบบอน” เป็นต้นการที่ชาวไทยในอดีตนำเอาลักษณะหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    สมุนไพรไทย กระแสโลกาภิวัฒน์ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมานี้ ดูเหมือนผู้คนจะเริ่มให้ความสนใจกับยาสมุนไพรพื้นบ้านกันอย่างมาก โดยเฉพาะในร้าน ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมก็มีผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรประเภทต่าง ๆ ออกมาจำหน่าย เช่น ยาฟ้าทะลายโจร แก้ไข้เจ็บคอ ยาขมิ้นชัน แก้โรคกระเพาะอาหาร แชมพูสมุนไพรว่านหางจระเข้ อัญชัน ทองพันชั่ง รวมไปถึงชาสมุนไพรชงดื่ม เช่น รางจืด มะตูม ขิง ดอกคำฝอย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    ผักตบ : ผักพื้นบ้านดั้งเดิมที่ถูกลืม ผักพื้นบ้านของไทยหลายชนิด มีชื่อเรียกนำหน้าด้วยคำว่า “ผัก” เสมอ เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด ผักขม และผักตบ เป็นต้น ผักที่มีคำว่า “ผัก” นำหน้าชื่อเหล่านี้ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในบริเวณประเทศไทยนี้เอง มิได้นำเข้ามาจากภายนอกดังเช่นพืชผักอีกหลายชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    ผักไห่ : ผักไทยโบราณที่ลูกหลานไม่รู้จัก“โอกาสหน้าพี่จะมาหาใหม่ไม่ลืมคนชื่อวิไล บ้านผักไห่อยุธยา...”เนื่องจากคอลัมน์ “ต้นไม้ใบหญ้า” ตอนนี้เขียนเพื่อตีพิมพ์ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งมีวันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งความรักอยู่ในเดือนนี้ด้วย ผู้เขียนจึงถือโอกาสนำเอาเนื้อเพลงรักของชาวชนบทไทย(เพลงลูกทุ่ง)มาฝากท่านผู้อ่าน เพลง ลูกทุ่งเพลงนี้ได้รับความนิยมมากเมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    สมุนไพรขับไล่แมลง (ตอนจบ)ฉบับที่แล้วได้เขียนถึงพืชสมุนไพรที่ใช้ขับไล่แมลงอย่างได้ผลไปแล้วหลายชนิด แต่เนื่องจากมีพืชสมุนไพรอีกมากที่ทรงคุณค่านานัปการ จึงได้นำมาเขียนต่อในฉบับนี้เพื่อให้เกษตรกรและบุคคลทั่วไปได้นำไปใช้อย่างถูกต้อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    จิก : ผักพื้นบ้านดอกงามจากป่าหิมพานต์ลิงลมเอย มาอมข้าวพองเด็กน้อยทั้งสอง มาทัดดอกจิกบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงร้องประกอบของเด็กภาคกลางในอดีต ชื่อเพลง “ลิงลม” ใช้ร้องประกอบการเล่นที่เรียกว่า “ลิงลม” เช่นเดียวกัน การที่เลือกเนื้อเพลงตอนนี้มา ก็เพราะมีข้อความบรรยายถึงเด็กสองคนนำดอกจิกมาทัด (หู)เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่าน(โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่)เมื่อเห็นชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    สมุนไพรขับไล่แมลงมนุษย์เรารู้จักใช้พืชสมุนไพรมาแต่โบราณกาล โดยใช้เป็นอาหาร เชื้อเพลิง เครื่องใช้ในการยังชีพ ที่อยู่อาศัย และใช้เป็นยาป้องกันบำบัดรักษาโรค นอกจากนั้นพืชยังช่วยดูดกรองอากาศพิษทำให้อากาศบริสุทธิ์อีกด้วยจากวิวัฒนาการของมนุษย์ที่ไม่เคยหยุดยั้งความคิดและการกระทำ ปัจจุบันจึงมีการนำพืชสมุนไพรหลายชนิดมาสกัดเป็นสารเพื่อใช้ในการป้องกันและปราบศัตรูพืชรวมทั้งไล่แมลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    กุ่ม : ผักพื้นบ้านที่มีเป็นกลุ่มจ้ำจี้มะเขือเปราะ กะเทาะหน้าแว่นพายเรือแอ่นๆ กระทั่งต้นกุ่ม...บทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ เป็นเพลงที่เด็กไทยภาคกลางสมัยก่อนใช้ร้องประกอบการละเล่นอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “จ้ำจี้” ชื่อเพลง “จ้ำจี้มะเขือเปราะ” ซึ่งเป็นเพลงประกอบการเล่นจ้ำจี้นั้นยังมีเพลงอื่นๆอีกเช่น เพลง “จ้ำจี้มะเขือพวง” เป็นต้นในบทเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ ...