การใช้ยาสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 109 พฤษภาคม 2531
    เด็กหญิงเป็นโรคหอบ กินยาลูกกลอนแล้วตัวและหน้าบวม แถมมีขนขึ้นดกดำตามตัว พบว่าไม่ใช่ยาลูกกลอนธรรมดา มีสตีรอยด์ผสมอยู่จากการเปิดเผยของนายธวัช วิทญโกศล ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดสุรินทร์ว่า บุตรสาวของตนคือ ด.ญ.ก้อย หรือ จตุพร วิทญโกศล อายุ 4 ปี 8 เดือน เป็นโรคหอบมาตั้งแต่เล็ก เพื่อนจึงแนะนำให้กินยาลูกกลอน โดยอ้างว่าบุตรชายตนที่เป็นโรคหอบเหมือนกัน กินแล้วได้ผลดี ในระหว่างที่กินยานี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 107 มีนาคม 2531
    แพทย์ไทยเรานั้น ได้จัดแบ่งรสของตัวยาออกเป็น 9 รส คือ 1. รสฝาด 2. รสหวาน3. รสเมาเบื่อ4. รสขม5. รสเผ็ดร้อน6. รสมัน7. รสหอมเย็น8. รสเค็ม9. รสเปรี้ยวและเมื่อท่านจำแนกออกเป็นรสต่างๆ ดังกล่าว 9 รสแล้ว ก็ทำให้สามารถจะใช้สมุนไพรมาปรุงแต่งเป็นยาบำบัดโรคได้ ทำให้รู้ว่ารสยาใดควรจะใช้แก้ในโรคใด รสยาใดที่ทำให้ตัวยาขัดกัน ไม่สามารถจะนำมาปรุงเข้าด้วยกันได้นอกจากนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    น้ำรากบัวเครื่องปรุง รากบัวจีนหรือพันธุ์เชียงใหม่ 1 กก. น้ำตาลทรายขาววิธีทำนำรากบัวจีนหรือพันธุ์เชียงใหม่มา 1 กก. ให้เลือกชนิดที่อวบขาว ใช้สันมีดขูดผิวออก ล้างน้ำให้สะอาด หั่นเป็นแว่นตามขวาง ใส่หม้อ ใส่น้ำพอประมาณ ต้มเคี่ยวประมาณ 10-15 นาที หากต้มนานเกินไปน้ำจะไม่ใส จะมีสีแดง แล้วนำกากรากบัวออกใส่น้ำตาลพอหวานหรือหวานตามใจชอบ ใช้ดื่มร้อนหรือเย็นก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 93 มกราคม 2530
    สมุนไพรในครัวลองมองสำรวจไปรอบๆห้องครัวหน่อยเถอะครับ...คุณผู้อ่านเห็นอะไรบ้างห้องครัวในบ้านนั้น แท้จริงแล้วดูจะเป็นแหล่งสมุนไพรเราดีๆนี่เอง เพราะเครื่องปรุงอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พริก หอม กระเทียม น้ำปลา ข่า ขิง ตะไคร้ ฯลฯ ล้วนแล้วแต่มีสรรพคุณทางยาทั้งนั้น มาดูกันสิครับ กระชาย มีรสเผ็ดร้อน ใช้แก้โรคในปาก ขับระดูขาว แก้ใจสั่นหวิว ส่วนหัวกระชายมีรสสุขุม แก้ปวดมวนในท้อง บำรุงกำลัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 ตุลาคม 2529
    ตอนที่ 3 ( เพลินพันธุ์ไม้ )หลังจากสวดมนต์ก่อนนอนแล้วล้มตัวลงนอน หลับตาทำจิตใจให้ว่างเพื่อที่จะได้หลับได้ง่าย พลันก็ได้กลิ่นหอมเย็นๆของเครื่องกระแจะจันทน์ ซึ่งเครื่องกระแจะจันทน์นั้นเป็นน้ำหอมหรือน้ำปรุงของชาวชนบทในสมัยโบราณ เพราะในสมัยนั้นยังไม่มีเครื่องปรุงน้ำหอมหรือแป้งประเทืองผิวเสริมความงามเหมือนอย่างในปัจจุบัน อันเครื่องหอมน้ำปรุงนั้น จะประกอบด้วยเปลือกชลูด เปลือกต้นกำยาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    มันฝรั่ง – อาหารหลักของชาวยุโรป⇒ มันฝรั่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solanum tuberosum Linn. วงศ์ Solanaceae แหล่งกำเนิดของมันฝรั่งคือประเทศเปรู ได้มีการขุดพบเครื่องใช้ที่มีรูปร่างคล้ายมันฝรั่ง ซึ่งสันนิษฐานว่า ทำขึ้นประมาณ 200 กว่าปีก่อนคริสต์ศักราช (2,200 ปีมาแล้ว) จากหลักฐานดังกล่าว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 86 มิถุนายน 2529
    เผยเครื่องสำอางมหาภัย สูตรผสมว่านหางจระเข้โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเองเตือนอันตรายจากผลิตภัณฑ์ว่านหางจระเข้ทำให้ผิวหนังเกิดเม็ดผื่นคัน มีอาการบวมเห่อ สงสัยพ่อค้าแอบผสมสารปรอทลงไปด้วยสืบเนื่องจากที่โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเองได้พิมพ์หนังสือ “คู่มือว่านหางจระเข้ พืชมหัศจรรย์จากธรรมชาติ” ออกเผยแพร่เพื่อมุ่งให้ประชาชนรู้จักใช้สมุนไพรรักษาดูแลตนเองในยามเจ็บไข้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ตับอ่อน เป็นอวัยวะหนึ่งที่อยู่ภายในช่องท้องของคนเรา หาใช่คำตรงข้ามของ “ตับแข็ง” ไม่ ตับอ่อนเป็นต่อมอย่างหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด รูปร่างคล้ายตัวลูกอ๊อด อยู่ใต้ตับ วางขวางอยู่ในช่องท้องส่วนบน พาดไปใต้กระเพาะอาหารตับอ่อนแบ่งออกเป็นส่วนหัวและส่วนหาง ส่วนหัวก็คือส่วนที่มีลักษณะคล้ายหัวของลูกอ๊อด ส่วนที่ต่อยาวออกไปก็คือส่วนหางตับอ่อนเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    หนึ่งในปัจจัยสี่ที่จำเป็นในการครองชีพให้อยู่รอดมาได้จนกระทั่ง ทุกวันนี้ก็คือยารักษาโรค เข้าใจว่าประชาชนชาวไทยได้ใช้สมุนไพรเป็นยาบำบัดรักษาโรคมาเป็นเวลาช้านาน หากแต่ไม่มีหลักฐานที่ปรากฏให้ทราบได้ชัด เราเพิ่งมีหลักฐานเมื่อวัฒนธรรมของประเทศอินเดียขยายเข้ามาสู่ประเทศไทย นอกจากศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีแล้ว ยังนำเอายารักษาโรคเข้ามาด้วย ซึ่งมีหลักฐานแน่ชัดตามคัมภีร์อายุเวทของอินเดีย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    ผมเป็นผู้หนึ่งที่มีเลือดเนื้อสืบเนื่องมาจากบรรพบุรุษที่เป็นหมอแผนโบราณ เมื่อไม่นานมานี้ผมได้ช่วยเหลือผู้ป่วยคนหนึ่งที่เป็นโรคดีซ่าน ซึ่งอาการค่อนข้างจะรุนแรงมาก เที่ยวได้รักษาเกือบจะทุกแห่งแล้ว หมดเงินทองไปเป็นจำนวนมากก็ไม่หาย เขาเล่าอาการให้ฟังว่า ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลียไม่มีแรงทำงาน แม้กระทั่งเดิน ตาเหลือง ตัวเหลือง ปัสสาวะเหลือง ปากขม กินอาหารก็ขมเมื่อได้ฟังอาการต่าง ๆ แล้ว ...