การใช้ยาสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 43 พฤศจิกายน 2525
    พันงูเขียว ⇒ ชื่ออื่นเจ๊กจับกบ (ตราด) ; เดือยงู ; พระอินทร์โปรย (ชุมพร); สารพัดพิษ; สี่บาท (ภาคกลาง);หญ้าหนวดเสือ (ภาคเหนือ); หญ้าหางงู (ภาคใต้); เง็กเล้งเปียง (แต้จิ๋ว); ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 43 พฤศจิกายน 2525
    ดอกไม้มีความสำคัญกับมนุษย์อย่างไรทุกวันนี้เกือบจะเรียกว่าดอกไม้มีความสำคัญกับมนุษย์ไม่น้อยทีเดียว ดอกไม้เป็นสินค้าประจำวันนับแต่ชาวสวนปลูกไม้ดอก นำไปเป็นสินค้า มีแม่ค้าพ่อค้ารับไปขายประดับแจกัน ร้อยพวงมาลัย มีผู้ซื้อไปบูชาพระ อวยพรวันเกิด พิธีมงคลทุกชนิด เยี่ยมผู้ป่วย ฯลฯ นับว่าดอกไม้มีความสำคัญกับมนุษย์จริง ๆนอกจากนั้นดอกไม้ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับหมอโบราณอีกด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 42 ตุลาคม 2525
    มะเขือพวง ⇒ชื่ออื่นจะเคาะค่ะ , ตะโกงลาโน (มลายู-สงขลา); ปอลอ, ปอลือ (แม้ว-ภาคเหนือ) ; มะเขือละคร,หมากแค้ง (นครราชสีมา) ; มะแคว้งกูลัว, มะแคว้งกูลา (เชียงใหม่) ; มะแว้ง, มะแว้งช้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 42 ตุลาคม 2525
    ตัวยาที่มีสรรพคุณตามธรรมชาติสมุนไพรนับว่าเป็นตัวยาที่มีสรรพคุณตามธรรมชาติ ซึ่งรู้จักเกือบทุกมุมโลกและมีผู้ใช้กันมากและแพทย์แผนปัจจุบันหลายประเทศก็สนใจ นำไปศึกษาค้นคว้าและยอมรับว่า สมุนไพรมีผลดีในการใช้รักษาโรคหลายชนิดเรื่องสมุนไพรเป็นวิชาของหมอแผนโบราณและประชาชนที่มีความรู้บ้างพอสมควร วิทยาการเรื่องสมุนไพรนี้ล้วนแต่ได้จาก สวนป่า ภูเขา ลำเนาไพร เกิดอยู่ตามธรรมชาติทั่วโลก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    ผักกาดหัว ⇒ ชื่ออื่นไช่เท้า,หัวผักกาดขาว (ทั่วไป) ; ผักกาดจีน(ภาคกลาง) ; ผักขี้หูด, ผักเปิ๊กหัว(ภาคเหนือ) ; ไหล่ฮก, จี๋ซ้ง (จีน) ; Labanos ,Radish.⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์Raphanus sativus L. วงศ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    อย่าเข้าใจยาสมุนไพรผิดผู้เขียนต้องขอออกตัวเสียก่อนว่าไม่มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และยาแผนปัจจุบันมากมายนัก แต่อาศัยชอบอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนังสือของกองส่งเสริมอาหาร, กระทรวงสาธารณสุข ได้ปริมาณค่าของพืชพันธุ์ธัญญาหารไว้โดยละเอียด พืชพันธุ์ธัญญาหารนั้นก็คือสมุนไพร ที่หมอโบราณนำมาปรุงผสมเป็นยารักษาโรคตามหลักโบราณนั่นเอง ล้วนแต่มีคุณค่าน่าสนใจแล้วอย่างนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    เลี่ยนและพลู เลี่ยน⇒ชื่ออื่นเกรียน, เคี่ยน , เฮี่ยน (ภาคเหนือ), โขวหนาย (แต้จิ๋ว) , ขู่เลี่ยน (จีนกลาง) Bead tree, Bastard Cedar,China Tree, Chinaball Tree, Persian Lilac⇒ชื่อวิทยาศาสตร์Melia azedarach L. วงศ์ Meliaceae⇒ลักษณะต้นเป็นไม้ใหญ่ผลัดใบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    หมอโบราณยาสมุนไพรหมอโบราณได้ตั้งตำรายาไว้ว่า มนุษย์เกิดขึ้นมาต้องประกอบด้วยธาตุทั้ง 4 (ดูรายละเอียดใน “หมอชาวบ้าน ” ฉบับ 37 หน้า 51 ) ดังนั้นจึงตั้งตัวยาประจำธาตุทั้ง 4 ไว้เพื่อให้คนกิน และเติมธาตุที่ 5 อีกคือ อากาศธาตุทางทรรศนะแพทย์แผนโบราณถือว่า มีลมพัดออกจากส่วนที่เป็นช่องตามร่างกายคือ ทางหู ทางตา ทางจมูก ทางปาก ทางช่องปัสสาวะ และ ทางช่องอุจจาระ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    พลูคาว ⇒ชื่ออื่นผักก้านตอง (แม่ฮ่องสอน) ผักเข้าดอง ผักคาวตอง (ภาคเหนือ) ผักคาวทอง (ภาคกลาง) หื่อชอเช่า (แต้จิ๋ว) ยวีเซียนฉ่าว (จีนกลาง)⇒ชื่อวิทยาศาสตร์Houttuynia cordata Thunb. วงศ์ Saururaceae⇒ลักษณะต้นเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูงประมาณ 15 ซม. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    หมอโบราณยาสมุนไพรหมอโบราณหรือหมอแผนโบราณ เป็นหมอที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติควบคุมกรประกอบโรคศิลปตามกฏหมาย มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปสาขาเวชกรรม จากกองควบคุมการประกอบโรคศิลป กระทรวงสาธารณสุขจะทำการประกอบโรคศิลปได้คือ การตรวจโรค รักษาโรคได้ตามหลักโบราณที่สืบเนื่องกันมา หมายถึงการใช้ยารักษาโรคต้องใช้สมุนไพรที่เป็นพืช สัตว์และแร่ธาตุมาประกอบเป็นยารักษาโรค จะใช้ยาแผนปัจจุบันหรือฉีดยาไม่ได้ ...