การใช้ยาสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 ตุลาคม 2524
    ยิน-หยาง เป็นทฤษฎีพื้นฐานทางการแพทย์ของจีน เป็นด้านของสรรพสิ่งที่ตรงกันข้าม ด้านทั้งสองนี้จะต่อต้านกัน ขณะเดียวกันก็ควบคุมและเป็นเอกภาพแก่กัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 29 กันยายน 2524
    5.ยาขับปัสสาวะหญ้าคา (คา, คาหลวง, ลาลาง, ลาแล)ใช้รากและเง่าของหญ้าคา 1 กำมือ ต้มน้ำกินบ่อยๆคึ่นไช้ (ผักปืน, ผักปึม, ผักข้าวปืน)น้ำต้มต้นคึ้นไช้สด 1 กำมือ กินเป็นยาลดความดัน และช่วยขับปัสสาวะ กินติดต่อกันได้ 5-7 วัน ห้ามใช้ในคนที่เป็นโรคไต ถ้ากินคึ่นไช้มากๆ จะทำให้ปริมาณตัวอสุจิลดลงกะเจี๊ยบแดง (กะเจี๊ยบ, กะเจี๊ยบเปรี้ยว, ส้มเก็งเค็ง, ผักเก็งเค็ง, แกงแดง, ส้มตะเลงเคลง, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 28 สิงหาคม 2524
    ⇒ชื่ออื่น ผักขาวปืน, ผักปืน, ผักปึม (ภาคเหนือ); ขึ่งฉ่าย, ฮั่งขึ่ง (แต้จิ๋ว); ฉินฉ้าน, ฮั่นฉิน (จีนกลาง); Garden Celery, Smallage⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์Apium graveolens Linn. วงศ์ Umbelliferae⇒ ลักษณะต้นเป็นพืชล้มลุกอายุ 1-2 ปี มีกลิ่นหอมฉุน ลำต้นกลวงกลม ต้นสูง 30-50 ซม. ใบรวม มีใบย่อย 2-3 คู่ ก้านใบรวมอาจยาว 36-45 ซม. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 29 สิงหาคม 2524
    กล้วยที่นิยมกินกันมีหลายชนิด ได้แก่ กล้วยไข่ (Sucrier), กล้วยหอม, กล้วยหอมเขียว (Lacantan), กล้วยหอมทอง (Martinigue Banana), กล้วยน้ำว้า, กล้วยเล็บมือนาง, กล้วยหักมุก, กล้วยน้ำ, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 26 กรกฎาคม 2524
    ชุมเห็ดไทย⇒ ชื่ออื่นกิเกีย, หน่อปะหน่ำเหน่อ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ชุมเห็ดเขาควาย, ชุมเห็ดนา, ชุมเห็ดเล็ก, (ภาคกลาง); พรมดาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    ⇒ชื่ออื่นปะเซ้ส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ; ปะเซอก่อ (กะเหรี่ยง-ตาก) ; หอม (ทั่วไป) ; หอมแดง (ภาคกลาง-ภาคใต้) ; หอมไทย, หอมหัว (ภาคกลาง) ; หอมบัว (ภาคเหนือ) ; ชัง,ตังชัง (จีน) ; shallot.⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์Allium ascalonicum L. วงศ์ Liliaceae⇒ ลักษณะเป็นพืชขนาดเล็ก สูง 15-50 ซม. มีกาบใบพองสะสมอาหารเป็นกระเปาะคล้ายหัว สีแดงถึงน้ำตาลเหลือง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    มนุษย์เรารู้จักใช้พืชมาแต่โบราณกาล โดยใช้เป็นอาหาร เชื้อเพลิง เครื่องนุ่งห่ม เครื่องมือในการดำรงชีพ ที่พักอาศัย และการบำบัดรักษาโรค นอกจากนั้นพืชยังช่วยดูดกรองอากาศพิษได้ด้วย ประเทศเราเป็นประเทศกสิกรรมมีพืชพันธุ์ธัญญาหารมากมาย ซึ่งพืชเกือบทุกชนิดมีฤทธิ์ทางการรักษามากบ้างน้อยบ้าง เราจึงน่าที่จะเลือกพืชบางชนิดง่ายๆ มาใช้เป็นสมุนไพรในการรักษาอาการของโรคพื้นๆ เช่น ปวดหัว ตัวร้อน ท้องผูก หรืออื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 24 เมษายน 2524
    ข้าวฟ่าง สมุทรโคดมและขี้เหล็กเทศ“สมุนไพรที่นำเสนอนี้ ผู้เขียนได้แปลและเรียบเรียงจากหนังสือ “พจนานุกรมสมุนไพรจีน” ของประเทศจีน ขนาดน้ำหนักของสมุนไพรที่ใช้นี้แปลและคิดคำนวณมาจากที่จีบนับทึกไว้ ซึ่งเป็นขนาดที่ใช้ในผู้ใหญ่ ดังนั้นเวลานำมาใช้ต้องดัดแปลงน้ำหนักของยาให้เหมาะสมกับอายุ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 23 มีนาคม 2524
    คูน “สมุนไพรที่นำเสนอนี้ผู้เขียนได้แปลและเรียบเรียงจากหนังสือ “พจนานุกรมสมุนไพรจีน” ของประเทศจีน ขนาดน้ำหนักของสมุนไพรที่ใช้นี้แปลและคิดคำนวณมาจากที่จีนบันทึกไว้ ซึ่งเป็นขนาดที่ใช้ในผู้ใหญ่ ดังนั้นเวลานำมาใช้ต้องดัดแปลงน้ำหนักของยาให้เหมาะสมกับอายุ น้ำหนักและสุขภาพของผู้ใช้ด้วย” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 23 มีนาคม 2524
    ยาดองสมุนไพร การรักษาโดยใช้สมุนไพร หรือที่เรียกว่า การรักษาแผนโบราณ ถ้าจะถามว่ามีมาแต่สมัยใดหรือเมื่อไร คงจะตอบยาก หรือตอบไม่ได้เลย หรือถ้าจะมีผู้ตอบได้ ก็กรุณาตอบผ่านทาง “หมอชาวบ้าน” ให้ผู้เขียนและคนอื่น ๆ ได้รับทราบด้วยผู้อ่านเห็นหัวข้อเรื่องยาว ๆ นี้ คงจะงง ไม่ต้องงงหรอก พระพุทธองค์ไม่ได้มีแต่ธรรมมะอย่างเดียวที่ตรัสสอนแนะนำพุทธบริษัทหากพระองค์ทรงเป็นแพทย์ด้วย ...